Search Result of "natural regeneration"

About 35 results
Img
Img

งานวิจัย

การสืบพันธุ์ตามธรรมชาติของพรรณไม้ป่าชายเลนในพื้นที่เสื่อมโทรมอย่างรุนแรง (2018)

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.ออ พรานไชย, รองศาสตราจารย์

แหล่งทุน:สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา

ผลลัพธ์:วารสาร (1) ประชุมวิชาการ (1)

Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:การแปรผันทางสัณฐานวิทยาและความสามารถในการสืบต่อพันธุ์ตามธรรมชาติของไม้เสม็ดขาว ในพื้นที่ต่างกัน บริเวณภาคตะวันออกของประเทศไทย

ผู้เขียน:Imgสิตา ผลโภค

กรรมการวิชาเอก:Imgดร.ดวงใจ ศุขเฉลิม, รองศาสตราจารย์

กรรมการวิชารอง:Imgดร.สนิท อักษรแก้ว, ศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract


Dissertation/Thesis Info
Abstract  (cache) |  Full text  (cache)  | Page  (Info)

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:อิทธิพลของโครงสร้างเรือนยอดต่อการเติบโตและการสืบพันธุ์ตามธรรมชาติในสวนป่าชายเลน อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช

ผู้เขียน:Imgชลิตา ศรีลัดดา

ประธานกรรมการ:Imgลดาวัลย์ พวงจิตร

กรรมการวิชาเอก:Imgดร.สนิท อักษรแก้ว, ศาสตราจารย์

กรรมการวิชารอง:Imgดร.ดวงใจ ศุขเฉลิม, รองศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract


Dissertation/Thesis Info
Abstract  (cache) |  Full text  (cache)  | Page  (Info)

Img

ที่มา:การประชุมวิชาการ ครั้งที่44 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

หัวเรื่อง:อิทธิพลของโครงสร้างเรือนยอดต่อการสืบพันธุ์ตามธรรมชาติในสวนป่าชายเลนอ่าวปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช

Img

ที่มา:การประชุมวิชาการ ครั้งที่44 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

หัวเรื่อง:อิทธิพลของโครงสร้างเรือนยอดต่อการสืบพันธุ์ตามธรรมชาติในสวนป่าชายเลนอ่าวปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Natural Regeneration after Clear Felling in Dry Teak Forest)

ผู้เขียน:Imgสิศักดิ์ สุขวงศ์, Imgวิชิต เจริญไพบูลย์, Imgดร.บุญวงศ์ ไทยอุตส่าห์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, Imgนายทวี แก้วละเอียด, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, Imgนายวิสุทธิ์ สุวรรณาภินันท์, รองศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

การศึกษาครั้งนี้เป็นการดำเนินงานตามแผนการทดลองเกี่ยวกับระบบวัฒน์ในป่าสาธิต จังหวัดลำปาง โดยมร กรมป่าไม้ คณะวนศาสตร์ และองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ร่วมมือในการทดลอง ระบบวนวัฒน์ที่ศึกษานี้เป็นระบบตัดหมด ทั้งนี้โดยอาศัยสมมุติฐานว่าป่ารุ่นใหม่ที่เกิดขึ้นภายหลังการตัดฟันแบบนี้ จะมาจากแหล่งใหญ่ 3 ประการคือ จากลูกไม้ของไม้มีค่าที่มีอยู่ก่อนตัดฟัน จากเมล็ดของไม้มีค่าที่ถูกตัดฟันลง และปรายสุดท้ายจากหน่อใหม่ที่แตกจากตอของไม้ที่ตัดฟัน ตามปกติแล้วระบบวนวัฒน์ที่สามารถใช้กับป่าสักนั้นมีอยู่หลายวิธีด้วยกัน Kadambi (4) ได้บรรยายระบบวนวัฒน์ที่ใช้กับป่าสักว่ามีถึง 4 วิธีใหญ่ ๆ คือ ระบบเลือกตัด (selection system) ระบบตัดหน่อให้แดกหน่อ (coppice system) ระบบตัดหมด (clear felling system) และ modified uniform system ในประเทศอินเดีย พม่า และไทย ระบบเลือกตัดนี้ใช้กันมาตั้งแต่ยุคเริ่มแรกของการจัดการป่าสัก แต่ระบบที่เรียกกันว่าเลือกตัดนี้ไม่เหมือนกับระบบเลือกตัดที่ใช้กันในประเทศยุโรป กล่าวคือเพียงแต่ตัดฟันไม้ที่ถึงขนาดที่กำหนดไว้ ซึ่งในจำนวนไม้ที่ถึงขนาดจำกัดนี้อาจถูกตัดฟันหมดหรือถูกตัดฟันแต่เพียงบางส่วน การดำเนินการตัดฟันมักจะไม่คำนึงถึงหลักการที่จะก่อให้เกิดความสมบูรณ์ (normality) ของป่า ไม่มีหลักประกันในเรื่องการสืบพันธ์ที่จะมาทดแทน และมักจะไม่คำนึงถึงลักษณะทางวนวัฒน์วิทยาของพรรณไม้ ฉะนั้นนักวิชาการป่าไม้บางท่านจึงเรียกระบบเลือกตัดเช่นนี้ว่าเป็น ระบบ mining system ระบบเลือกตัดนี้ได้รับดารพัฒนาบ้างโดยผสมการตัดไม้บำรุงป่า (selection – cum – improvement)

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 009, Issue 1, Jan 75 - Jun 75, Page 55 - 67 |  PDF |  Page 

Img
Img

ที่มา:การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิชาการเครือข่ายงานวิจัยนิเวศวิทยาป่าไม้ประเทศไทย: นิเวศวิทยาเพื่อการฟื้นฟู

หัวเรื่อง:การสืบต่อพันธุ์ของพรรณไม้ดั้งเดิมภายหลังการฟื้นฟูป่าดิบแล้งที่ผ่านการรบกวน บริเวณสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา

Img
Img
Img
12