Search Result of "Rhynchostylis"

About 16 results
Img
Img
Img
Img
Img
Img

งานวิจัย

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของกล้วยไม้ป่าสกุลช้างกระในประเทศไทย เพื่อประโยชน์ด้านการอนุรักษ์และเชิงพานิชย์ (2012)

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.เสริมศิริ จันทร์เปรม, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

แหล่งทุน:สำนักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ผลลัพธ์:วารสาร (1) ประชุมวิชาการ (1)

Img
Img

ที่มา:Conference on Agricultural Biodiversity and Sustainability 2012-CABS 2012

หัวเรื่อง:Diversity of wild Rhynchostylis gigantea Changkra in Thailand

Img

ที่มา:การประชุมวิชาการ ครั้งที่44 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

หัวเรื่อง:สูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ช้างกระ (Rhynchostylis gigantea (Lindl.)Ridl.) ในสภาพปลอดเชื้อ

Img

ที่มา:การประชุมวิชาการ ครั้งที่44 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

หัวเรื่อง:สูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ช้างกระ (Rhynchostylis gigantea (Lindl.)Ridl.) ในสภาพปลอดเชื้อ

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Daylength and Temperature in Relation to Flowering of Rhynchostylis gigantean)

ผู้เขียน:Imgอรดี อินทุวงศ์, Imgถาวร วัชราภัย

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

จากเอกสารเลขที่ 885 เดือนตุลาคม 2495 เรื่อง Day Length and Temperature in Relation to Growth and Flowering of Orchids เขียนโดย Gavino B. Rotor Jr. สถานีทดลองพืชกรรมแห่งมหาวิทยาลัย Cornell, New York รายงานว่า กล้วยไม้สามารถที่จะมีดอกเร็วหรือช้าผิดฤดูกาลได้ โดยการทำให้มี photoperiod และอุณหภูมิที่เหมาะสม ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดของกล้วยไม้นั้นๆ สำหรับกล้วยไม้ช้างซึ่งมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Rhynchostylis gigantea เป็นพืชที่มี flowering bud โผล่ให้เห็นตั้งแต่เดือนมิถุนายนเป็นต้นไป และมีการเจริญช้ามาก จากการสังเกตแทบจะไม่เห็นการเจริญเติบโตเลยจนกว่าจะถึงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นฤดูหนาวมีอุณหภูมิต่ำ กลางวันสั้น กลางคืนยาว ช่อดอกจะยาวขึ้นอย่างรวดเร็ว ภายใน 2-4 สัปดาห์ดอกจะบาน เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าพืชต่างชนิดกันถ้าดอกบานไม่พร้อมกัน ก็ไม่มีโอกาสจะผสมพันธุ์กันเพื่อทำให้เกิดพันธุ์ใหม่ ถ้าเราสามารถบังคับกล้วยไม้ช้างให้บานผิดฤดูกาลได้ โดยให้บานพร้อมกับกล้วยไม้ชนิดอื่นๆก็จะเปิดโอกาสที่จะผสมพันธุ์ทำให้เกิดพันธุ์ใหม่ที่ดี ให้ดอกปีละหลายหนก็ได้ เป็นสิ่งที่ควรจะทดลองดูกันบ้าง ประโยชน์อีกอย่างหนึ่งก็เพื่อการค้าโดยตัดดอกขาย คิดว่าคงจะได้ราคาดีดังนั้นเมื่อมีรายงานการค้นคว้าแสดงอย่างเด่นชัดว่า โดยการทำให้มี photoperiod และอุณหภูมิเหมาะสม ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของช่อดอกซึ่งหมายถึงการเร่งเวลาให้ออกดอกผิดฤดูกาลด้วย ช้างก็เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่งจึงเป็นสิ่งที่น่าคิดและเชื่อว่าต้องทำให้นักเลี้ยงกล้วยไม้ตื่นเต้นและใคร่ที่จะเห็นผลการทดลองนี้ โดยการทำให้กลางวันสั้นกลางคืนยาว และมีอุณหภูมิต่ำ คือ ทำให้มีสภาพเช่นเดียวกับฤดูหนาว จะช่วยเร่งการเจริญเติบโตของช่อดอกของช้างเช่นเดียวกับกล้วยไม้อื่นๆบ้าง

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 004, Issue 1&2, Jan 64 - Jun 64, Page 1 - 6 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:ผลของไดโอดเปล่งแสง (LEDs) และสูตรอาหารต่อการงอกของเมล็ดกล้วยไม้ช้างกระ เอื้องพวงหยก และการพัฒนา Protocorm-like Body ของ Renanstylis Hybrid ในสภาพปลอดเชื้อ

ผู้เขียน:Imgศิริพร ชื่นสำโรง

ประธานกรรมการ:Imgนางจิตราพรรณ พิลึก, รองศาสตราจารย์

กรรมการวิชาเอก:Imgดร.สายชล เกตุษา, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ

กรรมการวิชารอง:Imgสุรียา ตันติวิวัฒน์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract


Dissertation/Thesis Info
Abstract  (cache) |  Full text  (cache)  | Page  (Info)

Img

ที่มา:สำนักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

หัวเรื่อง:การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของกล้วยไม้ป่าสกุลช้างกระในประเทศไทย เพื่อประโยชน์ด้านการอนุรักษ์และเชิงพานิชย์

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.เสริมศิริ จันทร์เปรม, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

Img

งานวิจัย

การศึกษาความหลากหลายพันธุ์พืชและสัตว์ภายในมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี (2013)

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.อารยา อาจเจริญ เทียนหอม, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

แหล่งทุน:สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

ผลลัพธ์:วารสาร (2) ประชุมวิชาการ (1)

Img

Researcher

ดร. เสริมศิริ จันทร์เปรม, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กำแพงแสน

สาขาที่สนใจ:การปรับปรุงพันธุ์พืชโดยใช้เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อร่วมกับการใช้รังสีและสารเคมี, เทคโนโลยีชีวภาพด้านพืช, การถ่ายยีนในพืช

Resume

Img

Researcher

ดร. ราตรี บุญเรืองรอด, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กำแพงแสน

สาขาที่สนใจ:การปรับปรุงพันธุ์พืชและเทคโนโลยีชีวภาพ

Resume