Search Result of "rhizobium"

About 50 results
Img

งานวิจัย

การสกัดและวิเคราะห์น้ำตาลโลเลกุลเดี่ยวของเอ๊กตร้าเซลลูลาร์โพลีแซคคาร์ไรด์ จาก Rhizobium sp ด้วยเทคนิค Thin layer chromatography (2012)

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.จินตนาถ วงศ์ชวลิต, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

แหล่งทุน:ศูนย์ส่งเสริมการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ กำแพงแสน

ผลลัพธ์:ประชุมวิชาการ (1)

Img

งานวิจัย

การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการเจริญและการผลิตโพลีแซคคาร์ไรด์ จาก Pseudomonas sp. และ Rhizobium sp. (2012)

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.จินตนาถ วงศ์ชวลิต, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

แหล่งทุน:ศูนย์ส่งเสริมการวิจัยและถ่า่ยทอดเทคโนโลยี (ศสวท.) คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:การศึกษาพฤติกรรมของไรโซเบียมในดินที่มีความชื้นต่ำ

ผู้เขียน:ImgThianchai Arayangkoon, ImgPreecha Wadisirisuk, ImgWiroj Wajananawat, ImgWitaya Thananusont

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

Soybean seeds (8 kg.rai superscript -1, rate) inoculated with Bradyrhizobium japonicum (200 g. peat carrier, 7.80 x 10 superscript 8 cell g. superscript -1, peat) were sown in hot (42-45 degree C), dry (2-4% by weight) soils, at 0, 1, 3, 5, 7 and 10 days in January, 1987 and 0, 10, 15 and 20 days in February, 1988, before the first irrigation. The survival of inoculated rhizobia as estimated by YMA-plate count, showed that the number decreased every day after seed sowing but the survival was not less than 1.00 x 10 superscript 5 cell seed superscript -1 even in 20 days treatment. It was also found that N subscript 2 – fixation activity by ARA method and nodule dry weight did not too much decreased. Furthermore, the recovery of inoculated rhizobia as evaluated by fluorescent antibody technique was found in very high number over the un-inoculated plot. It could be recommended that soybean inoculated with Bradyrhizobium japonicum in dry soil under rain-fed area was able to survive at adequate number for increasing soybean yield.

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 026, Issue 3, Jul 92 - Sep 92, Page 257 - 262 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Research on the Use Rhizobium for Improving Soybean Yield in Thailand)

ผู้เขียน:ImgSamsak Vangnai

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

การใช้ไรโซเบียมปรับปรุงผลผลิตของถั่วเหลืองในประเทศไทย ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางเมื่อไม่นานมานี้เอง ในระยะประมาณ 20 ปีที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่หรือนักวิชาการจากหน่วยงานของรัฐ อาทิ กรมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัย และสถาบันวิจัยต่างๆที่จะทำให้สามารถนำเอากิจกรรมการตรึงไนโตรเจนโดยไรโซเบียมมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการผลิตถั่วต่างๆโดยเฉพาะถั่วเหลือง รวมทั้งการพยายามพิสูจน์ให้เห็นว่าการใช้กิจกรรมดังกล่าวให้ผลอย่างคุ้มค่าได้จริงๆ เมื่อปี พ.ศ. 2518 ได้มีการประชุมสัมมนาของนักวิชาการที่เกี่ยวกับไรโซเบียม จากทั่วประเทศ ผลของการประชุมสัมมนา (Vangni, et al., 1975) ปรากฏว่านักวิชาการมีความเห็นพ้องต้องกันว่า การใช้ไรโซเบียมปรับปรุงผลผลิตของถั่ว โดยเฉพาะถั่วเหลืองแทนการใช้ปุ๋ยไนตรเจน เป็นการปฏิบัติที่ให้ผลอย่างคุ้มค่า นอกจากนี้ยังมีความเห็นว่าการค้นคว้าวิจัยอย่างเข้มข้น สม่ำเสมอ ควรเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 014, Issue 1, Jan 80 - Jun 80, Page 26 - 33 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:ศูนย์ส่งเสริมการวิจัยและถ่า่ยทอดเทคโนโลยี (ศสวท.) คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

หัวเรื่อง:การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการเจริญและการผลิตโพลีแซคคาร์ไรด์ จาก Pseudomonas sp. และ Rhizobium sp.

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.จินตนาถ วงศ์ชวลิต, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Effects of Chemical Seed Treatments of Soybean Bacteria Pustule, on Rhizobium Symbiosis and Yield of Soybean)

ผู้เขียน:Imgดร.สุดฤดี ประเทืองวงศ์, ศาสตราจารย์, ImgChettaphan Choochoa

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

Seven chemical compounds, including antibiotics and fungicides, namely Aureomycin, Dumocycline, Agrimycin-100, Terramycin, Tersan 75, Thane M-45 and Cupravit, used in seed treatment of soybean to control bacterial pustule, were examined for their effects on Rhizobium nodule bacteria both under laboratory and field trials, at Kasetsart University Bangkhen Campus and Suwan Farm respectively. In the laboratory, chemicals applied at 250 ppm inhibited the growth of 5 strains of Rhizobium japonicum, namely USDA 8-0, USDA 15-7, USDA 110, USDA 122 and TH7. An exception was found with Agrimycin-100 which inhibited the growth of Rhizobium strain TH7, only above 1,500 ppm. In a field test, the same 7 chemicals were used as a seed treatment of soybean varieties SJ2, SJ4 and SJ5, both with and without inoculation with Rhizobium. The results revealed no significant differences in fresh nodule weight and 100-seed weight. Seeds treated with fungicides had significantly higher number of plants per unit area and seed yield compared with seeds treated with antibiotics or untreated seeds. Among soybean varieties, only inoculated seeds of JS4 had higher yield than without Rhizobium inoculation.

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 024, Issue 2, Apr 90 - Jun 90, Page 230 - 243 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:ศูนย์ส่งเสริมการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ กำแพงแสน

หัวเรื่อง:การสกัดและวิเคราะห์น้ำตาลโลเลกุลเดี่ยวของเอ๊กตร้าเซลลูลาร์โพลีแซคคาร์ไรด์ จาก Rhizobium sp ด้วยเทคนิค Thin layer chromatography

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.จินตนาถ วงศ์ชวลิต, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

Img

ที่มา:การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 49

หัวเรื่อง:การประเมินผลการฝึกอบรม การใช้เชื้อไรโซเบียมร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์เพื่อเพิ่มผลผลิตถั่วเหลืองในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:Isolation, Identification and Preliminary Structure Analysis of Extracellular Polysaccharide (EPS) from Rhizobium sp. SCF-Rh from Sugar Cane Field

ผู้เขียน:Imgพัชราภา กล้าหาญ

ประธานกรรมการ:Imgจินตนาถ วงศ์ชวลิต*

สื่อสิ่งพิมพ์:Library Collection

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ประสิทธิภาพของ EM และเชื้อไรโซเบียมต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของถั่วเหลือง

ผู้เขียน:ImgVithaya Thananusont

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

This pot experiment was performed in order to show the effect of EM and rhizobial inoculation on growth and yield of soybean. The design of the experiment was randomized complete block with 9 treatments and each treatment with eight replications. Soil and Soybean used were Korat Series soil at the rate of 30 kg/pot S.J.5. variety, respectively. The treatments were as follows: (1) without inoculations either of EM or rhizobium. (control) (2) with sterilized EM inoculation. (3) with EM inoculation (4) with rhizobial inoculation (5) with N-fertilization at the rate of 20 kg.N/rai (6) with rhizobial inoculation and sterilized EM inoculation. (7) with EM and rhizobial inoculation (8) with N-fertilization at the rate of 20 kg N/rai and sterilized EM inoculation. (9) with N-fertilization at the rate of 20 kg N/rai and EM inoculation. The results of the experiment showed that the number of nodules and efficiency on nitrogen fixation of soybeans of all treatments with rhizobial inoculation were highest and significantly different from those without rhizobial inoculation. EM inoculation with or without being sterilized gave no different effects on nodulation, nitrogen fixation efficiency and yield of soybeans when compared with the control. Dry weight of soybean from treatments with rhizobial inoculation and with N-fertilization was increased significantly when compared with that from treatments with EM inoculation with or without having been sterilized.

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 030, Issue 5, Jan 96 - Dec 96, Page 165 - 170 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Rhizobium japonicum Strains Effective on Nitrogen Fixation with Soybean S.J. 2 in Korat Soil Series )

ผู้เขียน:ImgBandit Tansiri, ImgYenjai Vasuwat, Imgนายสมศักดิ์ วังใน, รองศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

ปัจจุบันถั่วเหลืองจัดเป็นพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจที่นำรายได้มาสู่ประเทศ และเป็นพืชที่เกษตรกรนิยมปลูกกันมาก การเพิ่มผลผลิตต่อไร่ของถั่วเหลืองนั้นอาจทำได้หลายวิธี การคลุกเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองด้วยเชื้อบักเตรี Rhizobium japonicum ก็เป็นวิธีหนึ่งที่จะทำให้ถั่วเหลืองมีผลผลิตเพิ่มขึ้นได้ และนับว่าเป็นวิธีประหยัดมากกว่าวิธีอื่นๆ ทั้งนี้เพราะว่าบักเตรีสามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศให้ถั่วเหลืองนำไปใช้ประโยชน์ได้ การที่ R. japonicum จะเพิ่มผลผลิตถั่วเหลืองได้มากน้อยแค่ไหนนั้นขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ (strain) ของ R. japonicum นั้นๆ (1,3) ดังนั้นการหาสายพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการตรึงไนโตรเจน และทำให้ผลผลิตของถั่วเหลืองสูงที่สุด จึงได้รับความสนใจกันอย่างกว้างขวาง การทดลองมีตุประสงค์ที่จะศึกษาประสิทธิภาพของ R’ japonicum สายพันธุ์ต่างๆ ทั้งที่เป็นสายพันธุ์พื้นเมือง และต่างประเทศเมื่อขึ้นร่วมกับถั่วเหลืองพันธุ ส.จ. 2 ในดินโคราช

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 008, Issue 1, Jan 74 - Jun 74, Page 19 - 22 |  PDF |  Page 

123