Search Result of "hypocotyl"

About 10 results
Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Nematode Hypocotyl Brown Rot of Durian)

ผู้เขียน:Imgอรุณ จันทนโอ

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

จากการสำรวจโรคพืชซึ่งเกิดจากไส้เดือนฝอยในบริเวณตำบลคลองหลวง อำเภอรังสิต จังหวัดพระนคร เมื่อปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2506 พบว่า ต้นทุเรียน (Durio zibelhinus Linn.) ปลูกอยู่ในบริเวณนั้นซึ่งยังมีขนาดเล็กอยู่ คือมี อายุประมาณ 2 ปี มีอาการแคระแกร็นไม่เจริญเติบโตเท่าที่ควร มีบริเวณใบน้อยและมีขนาดเล็กกว่าปกติโดยไม่ปรากฏว่ามีโรคพืชหรือแมลงสัตรูพืชรบกวน เมื่อนำดินและรากพืชไปตรวจดูได้พบไส้เดือนฝอยศัตรูพืชเป็นจำนวนมาก แต่อาการของโรคที่เกิดจากไส้เดือนฝอยชนิดนี้ที่น่าสนใจ คือ ไส้เดือนฝอยทำให้ป่องต้นทุเรียนอ่อนเน่า โดยที่มันเข้าไปอาศัยหากินอยู่ภายในเนื้อของต้นอ่อนของทุเรียนที่ชาวสวนทุเรียนเรียกว่า “ป่อง” หรือตรงกับส่วนที่ทางพฤกษศาสตร์ เรียกว่า “ไฮโปโคทิล” (hypocotyl) ซึ่งเป็นส่วนของต้นอ่อนทุเรียนที่งอกขึ้นมาจากเมล็ดที่อยู่ระหว่างใบเลี้ยงคู่แรกกับส่วนราก ส่วนป่องนี้เป็นบริเวณที่มีเซลล์อ่อนและเป็นที่สะสมอาหารสำหรับเลี้ยงต้นอ่อน ชาวสวนทุเรียนนิยมใช้ต้นอ่อนทุเรียนนี้ทาบกับต้นทุเรียนในสวน เพื่อเสริมรากให้ต้นทุเรียนนั้นมีมากขึ้นเพื่อช่วยในการหาอาหาร ไส้เดือนฝอยดังกล่าวจะทำลายส่วนนี้ทำให้เซลล์พืชตายเน่าเป็นสีน้ำตาลเข้ม ต้นอ่อนทุเรียนนั้นก็จะตายลง ทำให้การเสริมรากไม่ได้ผลตามต้องการ อาการเน่าของป่องทุเรียนอ่อน ก็คือ ป่องทุเรียนโดยปกติมีลักษณะอวบเต่งและมีสีเขียวอ่อน เมื่อไส้เดือนฝอยเข้ากินทำลายเนื้อเยื่อภายใน ป่องนั้นจะมีผิวเป็นสีน้ำตาลคล้ำและเหี่ยวเป็นรอยย่นไม่อวบเต่งเหมือนในต้นที่เป็นปกติ เมื่อบีบป่องด้วยนิ้วมือจะรู้สึกหยุ่นเนื้อไม่แน่น ถ้าผ่าป่องนั้นดูจะพบว่าเนื้อภายในมีสีน้ำตาลดำ มีลักษณะช้ำคล้ายฟองน้ำและเป็นน้ำชื้น ซึ่งผิดกับต้นที่ไม่เป็นโรคโดยที่เนื้อของป่องมีสีขาวและมีเนื้อแน่น นอกจากส่วนแกนกลางของต้นที่เป็นโรคเท่านั้นที่ไม่เน่ายังคงมีสีขาวเหมือนต้นปกติ เมื่อนำเอาเนื้อของป่องส่วนที่เน่าดำนี้ไปตรวจดูด้วยกล้องขยายแบบสเตอริโอ จะพบไส้เดือนฝอยอยู่ภายในเนื้อของป่องทุเรียนนี้เป็นจำนวนมาก

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 004, Issue 1&2, Jan 64 - Jun 64, Page 56 - 60 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Isolation and Culture of Protoplasts from Different Explants of Cotton (Gossypium hirsutum L.))

ผู้เขียน:Imgดร.ประพนธ์ บุญรำพรรณ, ImgCatherine Pannetier, ImgYves Chupeau

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

Protoplasts were isolated from callus, cotyledons, hypocotyls and leaves of cotton (Gossypium hirsutum L. var. Coker 310) using different digestion media. Protoplast yield per gram of fresh mass of leaves, callus cotyledons and hypocotyls was 22.2, 5.5, 1.7 and 1.1 million respectively. Protoplasts were most viable in basic medium in presence of thidiazuro 0.663 gm/l and 2, 4, 5-trichlorophenoxy acetic acid 7 mg/l. Hypocotyl and leaf-derived protoplasts formed microcolonies. Addition of CaCl2 and glutamine to the basic medium improved protoplast survival, and division of hypocotyl and leaf-derived protoplasts. The growth conditions, such as the light and carbon source of donor plant were the important factors for protoplast isolation and culture.

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 031, Issue 5, Jan 97 - Dec 97, Page 55 - 59 |  PDF |  Page 

Img
Img
Img
Img

Researcher

ดร. จุติภรณ์ ทัสสกุลพนิช, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร

สาขาที่สนใจ:Plant Physiology, Plant Growth Regulator, Vegetable Production

Resume

Img

Researcher

ดร. กุหลาบ เหล่าสาธิต, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร กำแพงแสน

สาขาที่สนใจ:การปรับปรุงพันธุ์พืช

Resume

Img

Researcher

ดร. คณพล จุฑามณี, ศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์

สาขาที่สนใจ:การขาดน้ำ, การสังเคราะห์ด้วยแสง

Resume

Img

Researcher

ดร. พิจิตรา แก้วสอน, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร

สาขาที่สนใจ:เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์/สรีรวิทยาการผลิตผัก

Resume

Img

Researcher

ดร. ประกิจ สมท่า, รองศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร กำแพงแสน

สาขาที่สนใจ:พันธุกรรม และพันธุศาสตร์พืชตระกูลถั่วเขียวและพืชอื่นๆ ในสกุล Vigna รวมทั้งถั่วเหลือง, การปรับปรุงพันธุ์พืชโดยการใช้วิธีมาตรฐาน และเครื่องหมายโมเลกุล

Resume