Search Result of "ประมงชายฝั่ง"

About 20 results
Img
Img
Img
Img
Img
Img

ที่มา:การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 51

หัวเรื่อง:การทดลองใช้โป๊ะเชือกชนิดโชโก-เอมิเพื่อการจัดการประมงชายฝั่งอย่างยั่งยืน

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา สังคมศาสตร์

หัวเรื่อง:การวิเคราะห์ฟังค์ชั่นการผลิตของการประมงชายฝั่งในประเทศไทย

ผู้เขียน:ImgDr. Theodore Panayotou, Imgดร. กำพล อดุลวิทย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

การประมงไทยได้ก้าวหน้ามาเป็นลำดับนับแต่ปี 2505 ซึ่งเป็นปีที่มีการนำเอาเครื่องมือประมงอวนลากแผ่นตะเข้ เข้ามาใช้ แต่การขยายตัวนี้แม้ว่าจะมีผลให้มรการเพิ่มจำนวนเรือประมงและเครื่องมือประมงที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพสูงซึ่งทำให้ปริมาณสัตว์น้ำที่จับได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กลับส่งผลสะท้อนในทางลบแก่การประมงขนาดเล็กซึ่งเป็นการประมงแบบพื้นบ้านดั้งเดิมเนื่องจากการจับสัตว์น้ำในปริมาณมากเช่นนี้ได้มีส่วนให้ทรัพยากรสัตว์น้ำโดยเฉพาะในบริเวณใกล้ชายฝั่งร่อยหรอลงอย่างรวดเร็วจนเกิดดุลย์ธรรมชาติ (overfishing) จากการประมาณของกรมประมงในปี 2516 จำนวนประชากรประมงกลับลดลง โดยเฉพาะครัวเรือนประมงแบบยังชีพลดลงถึงร้อยละ 27.5 กล่าวในแง่ หนึ่งก็คือความก้าวหน้าของการประมงพาณิชย์นั้นมีส่วนทำให้ชาวประมงพื้นบ้านขนาดเล็กตกอยู่ในสภาพลำบากมากขึ้น เพื่อที่จะพิจารณาถึงปัญหาของชาวประมงขนาดเล็กเหล่านี้ได้มีการพยายามศึกษาถึงสภาพเศรษฐกิจและสังคมต้นทุนและรายได้ ตลอดจนลักษณะการประมงเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาสภาวะของชาวประมงขนาดเล็ก

Article Info
Kasetsart Journal of Social Sciences -- formerly Kasetsart Journal (Social Sciences), Volume 004, Issue 1, Jan 83 - Jun 83, Page 1 - 16 |  PDF |  Page 

Img

Researcher

นาย ปิยะวัฒน์ พรหมรักษา

ที่ทำงาน:สถานีวิจัยเพื่อการพัฒนาชายฝั่งอันดามัน (ศูนย์บริหารงานวิจัยเเละสนับสนุนวิชาการ) คณะประมง

สาขาที่สนใจ:การพัฒนาและฟื้นฟูทรัพยากรประมงชายฝั่ง, การจัดการน้ำเพื่อการเกษตรเชิงบูรณาการ, การพัฒนาศักยภาพการผลิตประมงชายฝั่ง

Resume

Img

Researcher

นางสาว กนกวรรณ ขาวด่อน

ที่ทำงาน:สถานีวิจัยประมงศรีราชา (ศูนย์บริหารงานวิจัยเเละสนับสนุนวิชาการ คณะประมง) คณะประมง

Resume

Img

ที่มา:National Institute for the Humanities (The Research Institute for Humanity and Nature, RIHN), Japan

หัวเรื่อง:การเพิ่มความสามารถของพื้นที่ชายฝั่งในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.เมธี แก้วเนิน, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ผู้ร่วมโครงการ:Imgดร.อนุกรณ์ บุตรสันติ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, Imgดร.จินตนา สและน้อย, รองศาสตราจารย์, Imgดร.มณฑล อนงค์พรยศกุล, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

Img

Researcher

นางสาว ศันสนีย์ หวังวรลักษณ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาการจัดการประมง คณะประมง

สาขาที่สนใจ:การจัดการประมงชายฝั่ง

Resume

Img

Researcher

นาย อลงกต อินทรชาติ

ที่ทำงาน:สถานีวิจัยประมงศรีราชา (ศูนย์บริหารงานวิจัยเเละสนับสนุนวิชาการ คณะประมง) คณะประมง

สาขาที่สนใจ:สมุทรศาสตร์และสิ่งแวดล้อม, การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง, งานวิเคราะห์ทางด้านคุณภาพน้ำและดินตะกอน, งานวิเคราะห์สัตว์หน้าดิน

Resume

Img

Researcher

นาย เอกภัทร ลักษณะคำ, อาจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ คณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา

สาขาที่สนใจ:เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม , การค้าระหว่างประเทศ และเศรษฐศาสตร์มหภาค

Resume

Img

Researcher

ดร. รัฐกฤต เรียบร้อย, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาวิศวกรรมทางทะเล คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ

สาขาที่สนใจ:วิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ, วัสดุผสมที่ใช้ในงานเรือ, Marine Renewable Energy

Resume

Img
Img

Researcher

ดร. พิพัฒน์ นนทนาธรณ์, รองศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ

Resume

Img

Researcher

ดร. จินตนา สและน้อย, รองศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะประมง

สาขาที่สนใจ:สารสีในแพลงค์ตอนพืช, กรดไขมันสารสี, เอนไซม์ในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง, เทคโนโลยีชีวภาพทางทะเล

Resume

Img

Researcher

ดร. เมธี แก้วเนิน, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาการจัดการประมง คณะประมง

สาขาที่สนใจ:การจัดการทรัพยากรประมง การสำรวจจากระยะไกล สารสนเทศภูมิศาสตร์

Resume

Img

Researcher

ดร. เชษฐพงษ์ เมฆสัมพันธ์, ศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะประมง

สาขาที่สนใจ:ด้านการประเมินสถานภาพของสิ่งแวดล้อม, ด้านการเฝ้าระวังการเกิดปรากฏการณ์น้ำเปลี่ยนสี, ด้านความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชทะเล

Resume

Img

Researcher

ดร. ภูวดล โดยดี, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาเกษตรและทรัพยากร คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร

สาขาที่สนใจ:Small-Scale Fisheries and Rural Aquaculture, GIS & Remote Sensing of Aquatic Ecosystem, Urban Flood Risk Reduction and Climate Change

Resume