 |
 |
 |
 |
 |
 |
 |
 งานวิจัยการคัดเลือกระยะปลูกและสายพันธุ์ถั่วลิสงที่เหมาะสมต่อการผลิตเมล็ด และต้นถั่วลิสงแห้งอาหารสัตว์บนพื้นที่นาของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2020)หัวหน้าโครงการ: ดร.ทรงยศ โชติชุติมา, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผู้ร่วมโครงการ: นางสาวชื่นจิต แก้วกัญญา, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ , ดร.สราวุธ รุ่งเมฆารัตน์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ , นายเจตษฎา อุตรพันธ์, อาจารย์ , ดร.ธนพล ไชยแสน, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ , ดร.นภสม สินเพิ่มสุขสกุล, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แหล่งทุน:สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) |
 |
 |
 |
 |
 ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการSSR-based and grain yield-based diversity of hybrid maize in Thailandผู้แต่ง: Dr.Chalermpol Phumichai, Associate Professor , W. Doungchan, P.Puddhanon, Dr.Sansern Jampatong , P Grudloyma, C. Kirdsri, Dr.Julapark Chunwongse, Associate Professor , T. Pulam, วารสาร:
|
 ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการEffects of Drought Tolerant Quantitative Trait Loci on Flowering Traits, Panicle Exsertion Rate, Spikelet Sterility and Grain Yield of Rice under Rainfed Lowland Conditionsผู้แต่ง: Rathmuny Then, Jonaliza L. Siangliw, Dr.Apichart Vanavichit, Associate Professor , Dr.Poonpipope Kasemsap, Associate Professor , Shu Fukai, Theerayut Toojinda, วารสาร:
|
 |
 |
 |
 |
 หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Effects of Drought Tolerant Quantitative Trait Loci on Flowering Traits, Panicle Exsertion Rate, Spikelet Sterility and Grain Yield of Rice under Rainfed Lowland Conditions) ผู้เขียน: Rathmuny Then, Jonaliza L. SIANGLIW, ดร.อภิชาติ วรรณวิจิตร, รองศาสตราจารย์ , ดร.พูนพิภพ เกษมทรัพย์, รองศาสตราจารย์ , Shu Fukai, ธีรยุทธ ตู้จินดา* สื่อสิ่งพิมพ์:pdf AbstractDrought hinders rice production and yield stability in rainfed lowland ecosystems. Quantitative trait loci (QTL) for root traits on chromosomes 1, 2, 7 and 9 in backcross introgression lines (BIL) of elite rice variety IR64, derived from Azucena/IR64, were designated as Targets 1, 2, 7 and 9 in the present study. Severe stress developed during the period of optimum flowering as indicated by 98-100% yield reduction. Significant phenotypic variations in BIL were observed on days to flowering (DF), delay in flowering (DeF), panicle exsertion rate (PEX), percent spikelet sterility (PSS) and grain yield (GY). Variations among target QTL were also found in the traits studied, particularly under drought stress, indicating that BIL containing Targets 1 and 2 had early DF, higher PEX, lower PSS and higher GY under stress than those with Targets 7 and 9. Targets 7 and 9 lacked QTL for root thickness, indicating that it plays a role in drought tolerance under rainfed lowland conditions. Early flowering BIL had an advantage over later flowering ones because water can be extracted at the early drought stage, which can support the PEX and result in low PSS. In a very severe drought at the flowering stage, PSS directly affected GY. Further study of root morphology and early flowering under stress are necessary to improve rice yields under rainfed lowland conditions. |
 หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Inheritance of Grain Yield and Its Components in Two Crosses of Rice (Oryza Sativa L.) ) ผู้เขียน: Sumitra Wisudharomn, Praphas Weerapat สื่อสิ่งพิมพ์:pdf Abstract ปัจจุบันการเพิ่มผลผลิตของข้าว มุ่งไปในด้านการปรับปรุงพันธุ์ เพื่อให้ได้พันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงและคุณภาพดี และยังสามารถต้านทานโรคและแมลงได้เป็นอย่างดีด้วย ผลผลิตต่อกอ (grain yield per plant) นับว่าเป็นลักษณะที่มีอิทธิพล ต่อผลผลิตของข้าวมากที่สุด และเป็นลักษณะที่มีองค์ประกอบหลายลักษณะด้วยกัน องค์ประกอบที่สำคัญที่สุดก็คือจำนวนรวงต่อกอ (number of panicle per plant) จำนวนเมล็ดต่อรวง (number of grains per panicle) และน้ำหนักเมล็ด (grain weight) Sastry (5) และ Chang (1) ได้รายงานว่าจำนวนต่อรวงต่อกอนับว่าเป็นลักษณะที่มีอิทธิพลโดยตรงต่อผลผลิตต่อกอมากว่าลักษณะอื่น ๆ และจากรายงานของสถาบันค้นคว้าเรื่องข้าวระหว่างชาติที่ประเทศฟิลิปินส์ หรือ IRRI (3) พบว่าองค์ประกอบของผลผลิตดังกล่าวมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยที่จำนวนรวงต่อกอจะมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับจำนวนเมล็ดต่อรวง และน้ำหนัก 100 เมล็ดมีความสัมพันธ์ในทางลบกับจำนวนเมล็ดต่อ |