Search Result of "flower bud"

About 14 results
Img
Img
Img
Img

ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

Effects of photoperiod on flower bud initiation of some okra (Abelmoschus esculentus) cultivars in spring and autumn

ผู้แต่ง:ImgMrs.Sutevee Sukprakarn, Associate Professor,

วารสาร:

Img Img

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Development of Leaf Bud Flower Bud and Fruit of Tamarindus indica Var. Muen Chong )

ผู้เขียน:Imgเสาวณี วิศาลเวทย์, Imgปวิณ ปุณศรี

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

มะขามในประเทศไทยแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ มะขามเปรี้ยวและมะขามหวาน โดยเฉพาะมะขามหวานมีอยู่มากมายหลายพันธุ์ มะขามจัดเป็นไม้ผลเมืองร้อนที่มีบทบาทสำคัญยิ่งทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศไทย ถึงกระนั้นก็ตาม มะขามยังคงเป็นพืชที่ไม่มีผู้ใดทำการศึกษาอย่างแท้จริง ทำให้ยังไม่สามารถเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้นได้ ปัจจุบันชาวสวนกำลังประสบกับปัญหาการติดฝักน้อย โดยเฉพาะมะขามหวาน การศึกษาแก้ไขดังกล่าว จำเป็นจ้องศึกษาทั้งลักษณะภายในภายนอกควบคู่กันไป เพื่อใช้ประกอบหาเหตุผลและวิธีการที่จะแก้ไข การศึกษาครั้งนี้ มุ่งหมายที่จะศึกษาการเจริญและการพัฒนาภายในของตามะขามหวานพันธุ์หมื่นจง เพื่อจะทราบขั้นตอนของการเจริญ อันจะใช้เป็นพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์ ผลผลิต และเรื่องอื่น ๆ ต่อไปในอนาคต

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 009, Issue 2, Jul 75 - Dec 75, Page 178 - 188 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:พัฒนาการของตาดอกในบ๊วยที่ปลูกบนที่สูงทางภาคเหนือของประเทศไทย

ผู้เขียน:Imgกานดา ศากยะโรจน์

ประธานกรรมการ:Imgดร.กฤษณา กฤษณพุกต์, รองศาสตราจารย์

กรรมการวิชาเอก:ImgAussanee Pichakum

กรรมการวิชารอง:Imgดร.ศรีสม สุวรรณวงศ์, รองศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract


Dissertation/Thesis Info
Abstract  (cache) |  Full text  (cache)  | Page  (Info)

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : The Relationship between Environmental Factors during the Rainy Season and Un-opened Floret Yellowing in Dendrobium Sonia ‘Ear-Sakul’)

ผู้เขียน:ImgVimolchat SARNTINORANONT, Imgดร.สุรวิช วรรณไกรโรจน์, รองศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

The pre-harvest yellowing in the un-opened florets of Dendrobium Sonia ‘Ear-Sakul’ grown under 50% shade in a saran-house was studied. In the rainy season, the most sensitive period for yellowing in un-opened florets was found to be the ready-to-bloom stage. The highest percentage of inflorescence with un-opened floret yellowing was obtained from those with no open florets. The percentage of inflorescence with yellowed un-opened florets could be predicted (R2= 0.613) using an environmental model consisting of: 1) cumulative hours of daytime with 0 ?mol m-2s-1 light intensity; 2) average rainfall during 1000-1400 hours; 3) cumulative hours of daytime with the temperature less than 25?C; and 4) cumulative hours when the relative humidity (RH) was in the range 75-90% in the period 3 d before un-opened floret yellowing. The developmental stage of inflorescence did not affect un-opened floret yellowing. The simulated stress environment of the rainy season had no effect on the sucrose, glucose and fructose contents in the first- and second-largest un-opened florets, nor on the calcium and boron contents in the inflorescence and leaves. Under the simulated stress environment of the rainy season in a growth chamber, spraying 1% sucrose solution might be useful to reduce yellowing in un-opened florets.

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 044, Issue 6, Nov 10 - Dec 10, Page 1016 - 1025 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:การพัฒนาตาดอกของแอปเปิลพันธุ์ Dorsett Golden บนต้นตอ MM106 ที่สถานีเกษตรหลวงปางดะ

ผู้เขียน:Imgสุวลักษณ์ ศันสนีย์

ประธานกรรมการ:Imgวิทยา สาธรวิริยะพงศ์

กรรมการวิชารอง:Imgนางเทียมใจ คมกฤส, รองศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract


Dissertation/Thesis Info
Abstract  (cache) |  Full text  (cache)  | Page  (Info)

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ผลของปัจจัยสภาพแวดล้อมที่มีต่อปริมาณคาร์โบไฮเดรต ไนโตรเจนในใบและการเกิดตาดอกของเงาะโรงเรียน

ผู้เขียน:Imgกวิศร์ วานิชกุล, ImgYongyuth Osotsapa, Imgดร.สุรนันต์ สุภัทรพันธุ์, ศาสตราจารย์, Imgนางสาวสุมน มาสุธน, รองศาสตราจารย์, Imgดร.จงรักษ์ แก้วประสิทธิ์, รองศาสตราจารย์, ImgMalee Na Nakorn

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

Studies on the relationship between total nonstructural carbohydrate and total nitrogen in leaves of rambutan (Nephelium Lappaceum L. cv. Rong Rian) and climatic factors were conducted at Amphoe Khao Saming. Trat Province during November 1987 – January 1988. The results showed that, during the period of water stress (after rainy season), total nonstructural carbohydrate contents in leaves was found to increase until flower bud initiation on the middle of January. Total nitrogen contents seemed to accumulate slowly under water stress condition. However, C/N ratio was increased before flowering period and flower bud initiation was found at the C/N ratio 4.5-4.6

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 024, Issue 1, Jan 90 - Mar 90, Page 8 - 15 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:ผลของสารพาโคลบิวทราโซลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารคล้ายจิบเบอเรลลิน และไซโตไคนิน และพัตนาการของตาดอกในมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้

ผู้เขียน:ImgChotana LIMSORN

ประธานกรรมการ:Imgดร.กฤษณา กฤษณพุกต์, รองศาสตราจารย์

กรรมการวิชาเอก:ImgAussanee Pichakum

กรรมการวิชารอง:Imgดร.นิรันดร์ จันทวงศ์, รองศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาเอก (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย มก. และสำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:สาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหาดอกตูมเหลืองในกล้วยไม้หวายโซเนีย 'เอียสกุล'

ผู้เขียน:ImgVimolchat SARNTINORANONT

ประธานกรรมการ:Imgดร.สุรวิช วรรณไกรโรจน์, รองศาสตราจารย์

กรรมการวิชาเอก:Imgดร.สายชล เกตุษา, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ

กรรมการวิชารอง:Imgดร.ศรีสม สุวรรณวงศ์, รองศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Img
Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:อิทธิพลของดอกบานที่มีผลต่อการร่วงและการบานของดอกตูมในกล้วยไม้สกุลหวายหลังการเก็บเกี่ยว

ผู้เขียน:Imgอารีรัตน์ การุณสถิตย์ชัย

ประธานกรรมการ:Imgดร.สายชล เกตุษา, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ

กรรมการวิชาเอก:Imgดร.ลพ ภวภูตานนท์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

กรรมการวิชารอง:Imgดร.พุทธพร ส่องศรี, อาจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract


Dissertation/Thesis Info
Abstract  (cache) |  Full text  (cache)  | Page  (Info)

Img

Researcher

ดร. สุรวิช วรรณไกรโรจน์, รองศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร

สาขาที่สนใจ:การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ, การปรับปรุงพันธุ์พืชและเทคโนโลยีชีวภาพ กล้วยไม้ ไม้ประดับเขตร้อนชื้น, กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืช, ความหลากหลายทางชีวภาพ, ความปลอดภัยทางชีวภาพ

Resume