Search Result of "aquarium"

About 43 results
Img

ที่มา:Aquarium Biz

หัวเรื่อง:บึงบอระเพ๋็ด สถานภาพและทรัพยากรประมงของบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์

Img

ที่มา:Aquarium Biz

หัวเรื่อง:ความหลากหลายของพรรณปลาน้ำจืดในบึงบอระเพ็ด

Img

ที่มา:Aquarium Biz

หัวเรื่อง:บึงบอระเพ็ด : สถานภาพและทรัพยากรประมงของบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์

Img

งานวิจัย

การเปลี่ยนเเปลงของสารประกอบไนโตรเจนในตู้เลี้ยงสัตว์น้ำของสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำโดยจุลินทรีย์ธรรมชาติ (2011)

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.อรุณวรรณ หวังกอบเกียรติ, รองศาสตราจารย์

ผู้ร่วมโครงการ:Imgนายพนา สิงขร

แหล่งทุน:คณะวิทยาศาสตร์ และภาควิชาจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Aquarium Fishes in Thailand)

ผู้เขียน:ImgSupap Monkolprasit

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

ปัจจุบันการเลี้ยงปลาสวยงาม เป็นที่นิยมเลี้ยงกันอย่างกว้างขวางทั้งในเมืองไทยและต่างประเทศ นับเป็นงานอดิเรกที่ให้ความเพลิดเพลิน และความรู้แก่ผู้เลี้ยง ทั้งยังเป็นอาชีพที่ทำรายได้อย่างสูงให้แก่นักเพาะพันธุ์ปลาและแหล่งจำหน่าย เมืองไทยอยู่ในโซนร้อนของโลก เป็นย่านที่มีพันธุ์ปลาสวยงามต่าง ๆ อยู่มาก ทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม ประเทศในโซนหนาวก็นิยมที่จะนำปลาจากโซนร้อนไปเลี้ยง เนื่องจากปลาในโซนร้อนมีสีสัน และลวดลายสวยงามแปลกตา จะเห็นได้จากการสั่งซื้อปลาจากเมืองไทยไปมาก จนกระทั่งปลาบางชนิดที่จับจากแหล่งธรรมชาติ และยังไม่สามารถที่จะนำมาเพาะพันธุ์ได้ในที่เลี้ยง ต้องถูกจับไปมาก ปริมาณจึงลดลงจนเกือบจะหาไม่ได้ในขณะนี้ จึงเป็นที่น่าเสียดายหากปลาเหล่านี้ต้องสูญพันธุ์ไป ด้วยเหตึนี้ ปลาจากต่างประเทศ ทั้งปลาน้ำจืด และปลาทะเล ที่มีผู้สั่งเข้ามาเลี้ยงเพื่อให้ขยายพันธุ์แล้วไม่สำเร็จ ก็มีมากและตายไปในที่สุด ชนิดใดที่เลี้ยงง่าย ทนทาน สามารถเลี้ยงให้เจริญเติบโตและสืบพันธุ์ได้ก็จะเป็นที่นิยมเลี้ยงกันอยู่ทั่วไป ราคาที่ซื้อขายแต่เดิมที่สั่งเข้ามาจะสูงมาก เมื่อมีการขยายพันธุ์แพร่หลายทำให้ราคาถูกลงไป ส่วนใหญ่จะเป็นปลาน้ำจืดเท่านั้น

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 008, Issue 2, Jul 74 - Dec 74, Page 117 - 145 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Evaluation of Channel Catfish Feeds in Long-Term Pond studies and Short term Aquarium Studies)

ผู้เขียน:Imgวิมล จันทรโรทัย, ImgRichard T. Lovell

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

Responses of two sizes; 3 g and 60 g channel catfish (Ictalurus punctatus) to five commercial feeds (1, 2, 3, 4 and 5) and a negative control (contained low quality plant protein) were evaluated in earthen ponds and in glass aquaria, respectively. The commercial feeds were prepared from closed formulas but estimated to contain 32% crude protein, approximately 2.5 Kcal/g of digestible energy. Growth rate of fish fed feed 1, 2 and 3 were higher than those of fish fed feeds 4, 5 and the negative control in both ponds and aquaria (P<0.05). There were no significant differences in weight gains among fish fed feed 1, 2 and 3 or among fish fed feeds 4, 5 and the negative control in the ponds (P>0.05). However, in the aquaria, fish fed feed 2 gained more weight than fish fed the other feeds, and fish fed feed 5 and the negative control grew less than those fed feed 4 (P<0.05). Feed conversion ratios for fish fed in ponds were higher than those for fish fed in the aquaria except for the negative control. The correlation in weight gain between fish fed feeds in ponds and aquaria was 0.73 (P<0.05). The agreement in weight gain between ponds and aquarium was high for the good quality feeds but poor for the low quality feeds. There was no correlation in feed conversion ratio between fish fed in ponds and aquaria (P>0.05). The results indicate that aquarium studies are more sensitive than pond studies for evaluating nutritional qualities among practical diets. However, natural food from the pond can improve productivity of poor quality feeds.

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 025, Issue 4, Oct 91 - Dec 91, Page 463 - 468 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:คณะวิทยาศาสตร์ และภาควิชาจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

หัวเรื่อง:การเปลี่ยนเเปลงของสารประกอบไนโตรเจนในตู้เลี้ยงสัตว์น้ำของสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำโดยจุลินทรีย์ธรรมชาติ

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.อรุณวรรณ หวังกอบเกียรติ, รองศาสตราจารย์

Img

ที่มา:ทุนส่วนตัว

หัวเรื่อง:การพัฒนาระบบบำบัดน้ำโดยใช้ Nitrifier Polyester Tablet (NPT)เพื่อเร่งการกำจัดแอมโมเนียและไนไตรท์ ในตู้เลี้ยงสัตว์น้ำของสถานแสดงพันธ์สัตว์น้ำ

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.อรุณวรรณ หวังกอบเกียรติ, รองศาสตราจารย์

Img

ที่มา:ทุนส่วนตัว

หัวเรื่อง:การพัฒนาระบบบำบัดน้ำโดยใช้ Nitrifier Polyester Tablet (NPT)เพื่อเร่งการกำจัดแอมโมเนียและไนไตรท์ ในตู้เลี้ยงสัตว์น้ำของสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.อรุณวรรณ หวังกอบเกียรติ, รองศาสตราจารย์

Img

ที่มา:สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

หัวเรื่อง:การพัฒนาศักยภาพหญ้าทะเลและสาหร่ายทะเลเพื่อใช้ในธุรกิจตู้ปลาทะเล

หัวหน้าโครงการ:Imgนางชัชรี แก้วสุรลิขิต, รองศาสตราจารย์

ผู้ร่วมโครงการ:Imgดร.จันทนา ไพรบูรณ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, Imgดร.สหภพ ดอกแก้ว, Imgดร.ศาลักษณ์ พรรณศิริ

Img

ที่มา:สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

หัวเรื่อง:การพัฒนาระบบบำบัดน้ำโดยใช้ NPT เพื่อเร่งการกำจัดแอมโมเนียและไนไตรท์ในตู้เลี้ยงสัตว์น้ำของสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.อรุณวรรณ หวังกอบเกียรติ, รองศาสตราจารย์

Img

ที่มา:สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

หัวเรื่อง:การพัฒนาศักยภาพหญ้าทะเลและสาหร่ายทะเลเพื่อใช้ในธุรกิจตู้ปลาทะเล

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.ศาลักษณ์ พรรณศิริ

ผู้ร่วมโครงการ:Imgนางชัชรี แก้วสุรลิขิต, รองศาสตราจารย์, Imgดร.จันทนา ไพรบูรณ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, Imgดร.สหภพ ดอกแก้ว, Imgดร.สุริยัน ธัญกิจจานุกิจ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

123