|
|
|
งานวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างซีรั่มโปรตีนกับสภาวะการณ์เกิดโรคช่องท้องอักเสบติดต่อในแมว (2002)หัวหน้าโครงการ:ดร.จตุพร รัตนศรีสมพร (หนูสุด), รองศาสตราจารย์ ผู้ร่วมโครงการ:นางสาวพรรณจิตต์ นิลกำแหง, รองศาสตราจารย์, ดร.เฉลิมพล เล็กเจริญสุข, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, นายสมหมาย หอมสวาท, ดร.อาภัสสรา ชูเทศะ, รองศาสตราจารย์, นายภูดิท มณีสาย, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, นางอมรรัตน์ ศาสตรวาหา, รองศาสตราจารย์ แหล่งทุน:คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
|
|
|
ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการรูปแบบซีรัมโปรตีนในสุนัขพันธ์ไทยบางแก้วโดยใช้วิธีเซลลูโลสอะซิเตตอิเล็กโตรโฟรีซิส (2012)ผู้แต่ง:Dr.Jatuporn Rattanasrisomporn (Noosud), Associate Professor, Dr.chaiwat Boonkaewwan, Assistant Professor, สิทธิรักษ์ รอยตระกูล, Mr.wirat nimitsuntiwong, Associate Professor, Mrs.Amornrate Sastravaha, Associate Professor, Dr.Apassara Choothesa, Associate Professor, วารสาร: |
|
|
|
|
|
ที่มา:วารสาร คณะสัตวแพทยศาสตร์หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Difference in Serum Protein and Hemoglobin Phenotypes between Normal and Babesiosis Dogs) สื่อสิ่งพิมพ์:pdf Abstract |
|
หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Hemoglobin Level and Serum Protein Content of Kasetsart University Students) ผู้เขียน:ประเสริฐศรี สีตะจิตต์, สิรินทร์ โลจายะ2, ไพโรจน์ ธีระโยธิน สื่อสิ่งพิมพ์:pdf Abstractเนื่องด้วย ปริมาณฮีโมโกลบินในโลหิตและปริมาณโปรตีนในซีรั่มจะเป็นเครื่องชี้ถึงสภาพของร่างกายของคนว่ามีความแข็งแรงปราศจากโรค และมีการกินอาหารถูกสัดส่วนหรือไม่ โดยเฉพาะอาหารประเภทโปรตีน เหล็ก กรดโฟลิค ไวตามินบี 12 และไวตามินอื่นๆ ถ้ากินโปรตีนไม่เพียงพอเป็นเวลานานโปรตีนในซีรั่ม จะมีปริมาณต่ำกว่าปกติ ทำให้เกิดสภาพที่เรียกว่า hypoproteinemia (ไฮโปโปรตีนนีเมีย) สภาพเช่นนี้อาจจะเกิดจากสาเหตุอื่นๆ เช่น มีโรคของตับ ไต หรือมีการสูญเสียโปรตีนในโรคบางชนิดก็ได้ |
ที่มา:วารสารสัตวแพทย์หัวเรื่อง:รูปแบบซีรัมโปรตีนในสุนัขพันธ์ไทยบางแก้วโดยใช้วิธีเซลลูโลสอะซิเตตอิเล็กโตรโฟรีซิส |
|
|
ที่มา:Journal of Animal Physiology and Animal Nutritionหัวเรื่อง:ผลระยะยาวของระดับโปรตีนในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ ภูมิคุ้มกัน และกรดอะมิโนในพลาสมาของไก่ไข่ |