Person Image

    Education

    • วท.บ.(ชีววิทยา), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ไทย, 2518
    • วท.ม.(จุลชีววิทยา), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ไทย, 2521
    • Dr.Eng. (Fermentation Technology ), Hiroshima University , ญี่ปุ่น, 2529

    โครงการวิจัย 5 ปีที่ผ่านมา

    หน้าที่ในโครงการ 5 ปีที่ผ่านมา

    Internal Active Project

    Year Project Title Role Source Output
    Journal Conference Intellectual Property Invention and Plant
    Total 6 Project 2 5 0 0
    2014 กระบวนการหมักในอาหารเหลวเพื่อผลิตเอนไซม์อัลฟา-อะไมเลสและแบคทีเรียเสริมชีวนะด้วย Bacillus sp. โดยใช้มันสำปะหลังเส้นเป็นวัตถุดิบ หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2014 การศึกษาการเป็นปฏิปักษ์ของราเอนโดไฟท์จากต้นพลูคาวต่อราสาเหตุโรคพืชและการใช้ประโยชน์ ที่ปรึกษาโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2012 การเปลี่ยนเป็นน้ำตาลพร้อมกับการหมักกรดแลกติกจากแป้งมันสำปะหลังโดยเชลล์ตรึงเชื้อรา Rhizopus oryzae หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2011 การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของเอนไซม์ย่อยสลายพอลีแลกไทด์จากเชื้อแบคทีเรียชอบร้อน หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 2 0 0
    2007 ความหลากหลายของเชื้อจุลินทรีย์ที่ผลิตเอนไซม์ย่อยสลายพอลีแลกไทด์ หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 1 0 0
    2006 โครงการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ประโยชน์จากฟางข้าว ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 2 2 0 0

    External Active Project

    Year Project Title Role Source Output
    Journal Conference Intellectual Property Invention and Plant
    Total 0 Project 0 0 0 0

    Internal Closed Project

    Year Project Title Role Source Output
    Journal Conference Intellectual Property Invention and Plant
    Total 23 Project 22 19 1 0
    2023 การพัฒนากระบวนการผลิตพลาสติกชีวภาพพอลิแลกติกแอซิด (PLA) จากชีวมวลทางการเกษตรและการใช้ประโยชน์เป็นบรรจุภัณฑ์ในอุตสาหกรรมประมง ที่ปรึกษาโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2022 การเพิ่มประสิทธิภาพการทนอุณหภูมิสูงและทนต่อสารละลายอินทรีย์ของเอนไซม์ไลเปสที่ผลิตจากเชื้อ Streptomyces sp. สายพันธุ์ A3301 ด้วยเทคนิคการตรึงเอนไซม์ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการสังเคราะห์พลาสติกชีวภาพชนิดพอลีแลกติกแอซิดด้วยกระบวนการทางชีวภาพ ที่ปรึกษาโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2022 การพัฒนากระบวนการผลิตพลาสติกชีวภาพพอลิแลกติกแอซิด (PLA) จากชีวมวลทางการเกษตรและการใช้ประโยชน์เป็นบรรจุภัณฑ์ในอุตสาหกรรมประมง ที่ปรึกษาโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2016 เอนไซม์ย่อยแป้งดิบจากเชื้อแบคทีเรียชอบร้อน Laceyella sacchari LP175 : การศึกษาลักษณะฉพาะของเอนไซม์บริสุทธิ์และการใช้ประโยชน์เพื่อกระบวนการเปลี่ยนเป็นน้ำตาลพร้อมกับการหมักกรดแลกติกจากแป้งมันสำปะหลังดิบ หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 4 0 0 0
    2015 การประยุกต์ใช้เชื้อแอคติโนมัยสีทที่มีความสามารถในการควบคุม Phytophthora sp. และ Erwinia chrysanthemi ในกล้วยไม้สกุลหวาย หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 3 1 0 0
    2015 การศึกษาการผลิตเอนไซม์ย่อยสลาย PLLA โดยเชื้อ Laceyella sacchari สายพันธุ์ LP175 ในการหมักแบบแห้ง หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 1 2 0 0
    2015 Polyphasic taxonomy ของแอคติโนมัยสีทสปีชีสใหม่จากป่าชายเลน ที่ปรึกษาโครงการ เงินรายได้ของมหาวิทยาลัยฯ 1 0 0 0
    2015 การศึกษาการเป็นปฏิปักษ์ของราเอนโดไฟท์จากต้นพลูคาวต่อราสาเหตุโรคพืชและการใช้ประโยชน์ ที่ปรึกษาโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 1 0 0 0
    2014 การหาค่าที่เหมาะสมในการผลิตน้ำตาลกลูโคสความเข้มข้นสูงจากเอนไซม์ย่อยแป้งดิบที่ผลิตจากเชื้อแบคทีเรียเส้นสายที่ชอบร้อนและการผลิตไบโอเอทานอลจากมันสำปะหลังเส้น หัวหน้าโครงการ เงินรายได้ส่วนกลาง มก. 2 0 0 0
    2014 การพัฒนาผ้าฆ่าเชื้อเพื่อลดการปนเปื้อนของแบคทีเรียก่อโรคกลุ่มสร้างสปอร์บนพื้นผิวสัมผัสอาหาร ที่ปรึกษาโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2013 การเปลี่ยนเป็นน้ำตาลพร้อมกับการหมักกรดแลกติกจากแป้งมันสำปะหลังโดยเชลล์ตรึงเชื้อรา Rhizopus oryzae หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 1 0 0
    2013 การเปรียบเทียบการไฮโดรไลซิสระหว่างเอทิวแลกเตดและบิวทิวแลกเตดสำหรับการทำกรดแลกติกให้บริสุทธิ์ ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2012 การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของเอนไซม์ย่อยสลายพอลีแลกไทด์จากเชื้อแบคทีเรียชอบร้อน หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 1 0
    2011 การผลิตหัวเชื้อแอคติโนมัยซีทโดยการเพาะเลี้ยงในอาหารเหลวเพื่อควบคุมโรคใบจุดของผักคะน้าและโรคเน่าคอดินของผักกวางตุ้ง หัวหน้าโครงการ คณะวิทยาศาสตร์ (ทุนปัญหาพิเศษระดับปริญญาตรี) 0 0 0 0
    2011 การผลิตหัวเชื้อแอคติโนมัยซีทโดยการเพาะเลี้ยงแบบ solid state เพื่อควบคุมโรคใบจุดในผักคะน้าและโรคเน่าคอดินในผักกวางตุ้ง หัวหน้าโครงการ คณะวิทยาศาสตร์ (ทุนปัญหาพิเศษระดับปริญญาตรี) 0 0 0 0
    2011 การผลิตกรดแลกติกจากยอดอ้อยโดยแบคทีเรียชอบกรด-ทนร้อน หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 1 0 0
    2010 การหาค่าที่เหมาะสมต่อการผลิตอาหารเสริมชีวนะสำหรับอาหารสัตว์ด้วยกระบวนการหมักแบบแห้ง โดยใช้มันสำปะหลังเส้นเป็นวัตถุดิบหลัก หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 1 4 0 0
    2009 โครงการวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพของแบคทีเรียส่งเสริมการเติบโตของพืชจากดินในสถานีวิจัยกาญจนบุรี สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร หัวหน้าโครงการ โครงการศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1 1 0 0
    2008 ความหลากหลายของเชื้อจุลินทรีย์ที่ผลิตเอนไซม์ย่อยสลายพอลีแลกไทด์ หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 1 3 0 0
    2006 กระบวนการหมักฟางข้าวเพื่อการผลิตเอนไซม์ย่อยไซแลนและเพื่อใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 2 0 0
    2006 การผลิตและใช้เทคโนโลยีเอนไซม์เพื่อจัดการและเพิ่มมูลค่าของเหลือใช้จากอุตสาหกรรมเกษตร ที่ปรึกษาโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 4 4 0 0
    2004 การแยก และรวบรวมสายพันธุ์แอคติโนมัยสีทที่หายากเพื่อค้นหาสายพันธุ์ใหม่ หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. ปี 2548-2549 3 0 0 0
    2000 หน่วยปฏิบัติการวิจัยการหมักผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรแบบแห้ง ผู้ร่วมวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0 0 0 0

    External Closed Project

    Year Project Title Role Source Output
    Journal Conference Intellectual Property Invention and Plant
    Total 19 Project 4 6 0 0
    2017 การสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ชานอ้อยด้วยวิธีการทางเทคโนโลยีชีวภาพ ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 0 0 0 0
    2017 การศึกษากระบวนการผลิตเอนไซม์เบต้าไซโลซิเดสโดยใช้ชานอ้อย ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 0 0 0 0
    2016 การผลิต Polyhydroxyalkanoates (PHAs) และ Poly(L-lactic acid)degradation โดยเชื้อ Actinobacteria และเชื้อราในดิน สำหรับประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ หัวหน้าโครงการย่อย ศูนย์ความเป็นเลิศด้านความหลากหลายทางชีวภาพ 0 0 0 0
    2014 การผลิตเอนไซม์ย่อยสลาย PLLA โดยเชื้อ Laceyella sacchari LP175 ด้วยการหมักอาหารเหลว ภายใต้โครงการวิจัย การศึกษาการผลิตเอนไซม์ย่อยสลาย PLA จากแบคทีเรียชอบร้อน หัวหน้าโครงการ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2 1 0 0
    2012 กระบวนการหมักกรดแลกติกและการทำให้แลกติกบริสิทธิ์ หัวหน้าโครงการ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 0 1 0 0
    2012 การพัฒนาหัวเชื้อแอคติโนมัยซีทสำหรับควบคุมทางชีวภาพโรคของกล้วยไม้ หัวหน้าโครงการ มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย 0 0 0 0
    2012 การใช้ประโยชน์ทางน้ำยางเพื่อการผลิตเอนไซม์อุตสาหกรรมโดยจุลินทรีย์ด้วยกระบวนหมักแบบเปิด หัวหน้าโครงการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 0 0 0 0
    2012 กระบวนการหมักกรดแลกติกาจากแป้งมันสำปะหลังและการทำให้แลกติกบริสุทธิ์ หัวหน้าโครงการ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 0 0 0 0
    2005 โครงการย่อย การใช้รังสีปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์แอคดิโนไมสีทเพื่อเป็นเชื้อควบคุมโรคพืช หัวหน้าโครงการ สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ 0 1 0 0
    2005 โครงการย่อย การปรับปรุงเชื้อราด้วยการเหนี่ยวนำด้วยรังสีแกมมาและคัดเลือกสายพันธุ์สำหรับการผลิต เอนไซท์อาหารสัตว์สูงและกระบวนการผลิต หัวหน้าโครงการ สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ 1 1 0 0
    2004 กระบวนการหมักกรดแอลแลกติกจากแป้งมันสำปะหลังด้วยเชื้อรา Rhizopus oryzae KPS 106 ด้วยระบบตรึงเซลล์ หัวหน้าโครงการ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ 1 2 0 0
    1999 การปรับปรุงพันธุกรรมของยีสต์เพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการสำหรับใช้เป็นยีสต์อาหารสัตว์ ผู้ร่วมวิจัย กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 0 0 0 0
    1999 การปรับปรุงพันธุกรรมของยีสต์เพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการสำหรับใช้เป็นยีสต์อาหารสัตว์ ผู้ร่วมวิจัย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ 0 0 0 0
    1998 การปรับปรุงพันธุกรรมของยีสต์เพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการสำหรับใช้เป็นยีสต์อาหารสัตว์ ผู้ร่วมวิจัย กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 0 0 0 0
    1998 การปรับปรุงพันธุกรรมของยีสต์เพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการสำหรับใช้เป็นยีสต์อาหารสัตว์ ผู้ร่วมวิจัย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ 0 0 0 0
    1997 การปรับปรุงพันธุกรรมของยีสต์เพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการสำหรับใช้เป็นยีสต์อาหารสัตว์ ผู้ร่วมวิจัย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ 0 0 0 0
    1995 Industrial use of Agricultural Products in Southeast Asis (Xylitol and Ethnol Production from Xylose). ผู้ร่วมวิจัย กระทรวงศึกษาญี่ปุ่นผ่านทาง JSPS 0 0 0 0
    1994 Industrial use of Agricultural Products in Southeast Asis (Xylitol and Ethnol Production from Xylose). ผู้ร่วมวิจัย กระทรวงศึกษาญี่ปุ่นผ่านทาง JSPS 0 0 0 0
    1993 Industrial use of Agricultural Products in Southeast Asis (Xylitol and Ethnol Production from Xylose). ผู้ร่วมวิจัย กระทรวงศึกษาญี่ปุ่นผ่านทาง JSPS 0 0 0 0