Year
|
Honor Award
30
|
2567
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลการวิจัยแห่งชาติ รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี 2567, ผลงานวิจัยเรื่องโรคไวรัสอุบัติใหม่ในปลานิลและปลานิลแดง เป็นตัวอย่างชุดงานวิจัยที่มีเป้าหมายชัดเจน แสดงให้เห็นศักยภาพของนักวิจัยไทยในระดับสากล ทั้งการมีความคิดริเริ่ม และเป็นผู้นำในหัวข้อที่ศึกษาวิจัย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยใหม่ที่ยังไม่เคยมีการศึกษามาก่อน นำไปสู่การกำหนดแนวทางควบคุมโรคและการแก้ไขปัญหาอย่างถูกต้อง ซึ่งการศึกษาวิจัยมีการเชื่อมโยงระหว่างผลในห้องปฏิบัติการและการใช้ประโยชน์ในภาคสนามในฟาร์มเกษตรกร รวมถึงได้มีการขยายผลไปสู่การใช้ประโยชน์ทั้งในเชิงวิชาการและการปฏิบัติในภาคสนามกับเกษตร
|
2566
|
พรทิพภา เล็กเจริญสุข, นักวิจัยผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ปี 2564
|
2566
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลนักวิจัย (ดีมาก) โครงการพลิกโฉมระบบอุดมศึกษาของประเทศไทย (Reinventing University) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี 2564
|
2565
|
พรทิพภา เล็กเจริญสุข, นักวิจัยผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ปี 2563
|
2565
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลนักวิจัยผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ปี 2563
|
2565
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลผลงานวิจัยแห่งชาติที่มีผลกระทบสูง ประจำปี 2565
Prime Minister's TRIUP Award for Research Utilization with High Impact 2022, ชุดผลงานวิจัยและเทคโนโลยี เรื่อง ไวรัสอุบัติใหม่ในปลานิลและปลานิลแดง เริ่มตั้งแต่การค้นพบเชื้อไวรัสเป็นครั้งแรกในประเทศไทย การแยกเชื้อไวรัสในห้องปฏิบัติการ การพัฒนาวิธีตรวจวินิจฉัยโรค การศึกษากลไกก่อโรคและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน วิธีเก็บตัวอย่างภายในฟาร์ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้และเทคโนโลยีเพื่อป้องกันโรคในฟาร์มปลา เช่น ศึกษาประสิทธิภาพของยาฆ่าเชื้อ การใช้สารเสริมโปรไบโอติกหรือยาต้านเชื้อไวรัสในการลดความรุนแรงของโรค การนำหลักความปลอดภัยทางชีวภาพไปใช้จัดการฟาร์ม เช่น ศึกษาความเป็นไปได้ที่เช
|
2565
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, อาจารย์ดีเด่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2565 ด้านการวิจัยและนวัดกรรม (กลุ่มอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป สายวิทยาศาสตร์)
|
2564
|
พรทิพภา เล็กเจริญสุข, นักวิจัยผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ปี 2562
|
2564
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลทะกุจิ นักวิจัยดีเด่น (Taguchi Prize for Outstanding Research Achievement in Biotechnology), รางวัลทะกุจิ นักวิจัยดีเด่น (Taguchi Prize for Outstanding Research Achievement in Biotechnology) มอบให้นักวิทยาศาสตร์ที่มีผลงานวิจัยดีเด่นอย่างต่อเนื่องในด้านเทคโนโลยี ชีวภาพ รางวัลที่ได้รับประกอบด้วยโล่เกียรติยศ และได้รับเชิญให้บรรยายในการประชุมประจําปี ของสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย
|
2564
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น ประจำปี 2564 (runner up)
|
2564
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลนักวิจัยผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ปี 2562
|
2563
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลการวิจัยแห่งชาติ: รางวัลผลงานวิจัยระดับดีเด่น ประจำปีงบประมาณ 2564, โรคไวรัสทิลาเปียเลค: จากการค้นพบสู่องค์ความรู้เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคอย่างยั่งยืน (Tilapia Lake Virus Disease: From the Discovery to Knowledge-based Information for Sustainable Disease Prevention and Control)
|
2563
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลนักวิจัยผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ปี 2561
|
2563
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลผลงานวิจัย (ระดับดีเด่น) ประจำปีงบประมาณ 2564, ผลงานวิจัยเรื่อง “โรคไวรัสทิลาเปียเลค : จากการค้นพบสู่องค์ความรู้เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคอย่างยั่งยืน” (Tilapia Lake Virus Disease: From The Discovery to Knowledge - based Information for Sustainable Disease Prevention and Control) โดย
๑. รองศาสตราจารย์ ดร.นายสัตวแพทย์วิน สุรเชษฐพงษ์
๒. นางสาวปุณธนาฒย์ ทัตติยพงศ์
๓. นางสาวจิดาภา แย้มเกษม
4. นางสาวพิชชาพร ไวยมิตรา
5. นางสาวพิชญา แจ่มวิมล
|
2563
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลผลงานวิจัยที่สร้างผลกระทบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ระดับสูง) ประจำปี 2563, องค์ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาโรคไวรัสทิลาเปียเลคในปลานิลอย่างยั่งยืน
|
2562
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, ผลงานวิชาการดีเด่น, ตามที่สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) ได้จัดงานประชุมวิชาการ สวก. ประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งภายในงานได้มีการคัดเลือกโครงการวิจัยที่ได้รับทุนผ่านสวก. จํานวน ๒๔ โครงการ จากทั้งหมด ๖๐๐ กว่า โครงการ ให้มานําเสนอผลการดําเนินโครงการวิจัยในรูปแบบปากเปล่า (Oral presentation) อนึ่งโครงการ “ระบาดวิทยาของโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ในปลานิลและปลาทับทิม” ได้รับทุนจากสวก. ประจําปีงบประมาณ ๒๕๖๐ มี รศ.น.สพ.ดร. วิน สุรเชษฐพงษ์ สังกัดภาควิชาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาส
|
2561
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลที่ 2 การตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ ที่มีค่า Impact factor สูง ปี 2561
|
2560
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลที่ 2 การตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ ที่มีค่า Impact factor สูง ปี 2560
|
2559
|
พรทิพภา เล็กเจริญสุข, รางวัลประเภทบุคคล-นักวิจัยผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ปี 2557, มีปริมาณผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ (Pi) 2 ค่าความต่อเนื่อง (Pi ปี 2556) 1 (Pi ปี 2555) 0.5 ค่า Pi รวม = 3.5
|
2559
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลที่ 2 การตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ ที่มีค่า Impact factor สูง ปี 2559
|
2559
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลประเภทบุคคล-นักวิจัยผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ปี 2557
, ผลงานวิจัยตีพิมพ์ เรื่อง1.Molecular Characterization and Expression Analysis of miR-29a in Porcine Cells and Porcine Reproductive and Respiratory Syndrome Virus Infected Peripheral Blood Mononuclear Cells
มีปริมาณผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ (Pi) 1 ค่าความต่อเนื่อง (Pi ปี 2556) 0.05 (Pi ปี 2555)0 ค่า Pi รวม = 1.05
|
2556
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, รางวัลวิทยานิพนธ์ (ระดับดีเด่น)
|
2553
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, Merck Young Scientist Award 2010 (ชมเชย), เป็นการนำเสนอผลงานวิจัยเรื่อง MAPK ERK signaling regulates the TGF-beta1-dependent mosquito response to Plasmodium falciparum
โดยผลงานวิจัยเป็น 1 ใน 6 ผู้เข้ารอบสุดท้ายจากผลงานทั้งหมดประมาณ 100 เรื่อง
|
2552
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, Invitation to join Golden Key International Honor Society
|
2552
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, Thai Scholar Innovation in USA and Canada
โครงการนวัตกรรมข้าราชการไทยพันธุ์ใหม่ (นทร. ) ในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา
|
2552
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, The American Committee of Medical Entomology Student Travel Award (ACME)
|
2552
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, William C. Reeves New Investigator Award (First Place Winner)
|
2551
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, The Bill and Melinda Gates Foundation Global Health Travel Award
|
2550
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, Student Travel Scholarship
|
2548
|
วิน สุรเชษฐพงษ์, Above and Beyond Award
|