API Result

Server URL

https://research.ku.ac.th/kurdi-api/api/v1/

Endpoint URL
API URL

URL: https://research.ku.ac.th/kurdi-api/api/v1/projects/20196220159002

Result
{
    "totalResult": 1,
    "startPage": 1,
    "itemsPerPage": 1,
    "entry": [
        {
            "projectDetail": {
                "forestUrl": "https://research.ku.ac.th/forest/Project.aspx?ProjectNumber=6220159002&BudgetYear=2019",
                "projectID": "20196220159002",
                "projectName": "เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวและขนส่งมวลชีวภาพของไม้ยางพารา",
                "projectNameEn": "Rubberwood Biomass Harvesting and Transport Technology",
                "source": {
                    "name": "เงินงบประมาณมหาวิทยาลัย",
                    "type": "Internal"
                },
                "budget": 0,
                "organization": {
                    "orgID": "010405",
                    "name": "ภาควิชาวิศวกรรมป่าไม้ คณะวนศาสตร์"
                },
                "type": "โครงการย่อยในชุดโครงการ \"บูรณาการรูปแบบการตัดฟันไม้ยางพาราเพื่อมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ\"",
                "budgetYear": "2019",
                "startYear": "2019",
                "endYear": "2021",
                "head": "ดร.ลัดดาวรรณ เหรียญตระกูล, ผู้ช่วยศาสตราจารย์",
                "team": [
                    {
                        "sequence": 1,
                        "researcherID": "520150",
                        "prefix": "ดร.",
                        "researcherName": "ลัดดาวรรณ เหรียญตระกูล",
                        "academicPosition": "ผู้ช่วยศาสตราจารย์",
                        "position": "หัวหน้าโครงการ",
                        "type": "Internal Researcher",
                        "workRatio": 40
                    },
                    {
                        "sequence": 2,
                        "prefix": "",
                        "researcherName": "ยูฮะ นูระหมิ",
                        "position": "ผู้ร่วมวิจัย",
                        "type": "External Researcher",
                        "workRatio": 20
                    },
                    {
                        "sequence": 3,
                        "researcherID": "480926",
                        "prefix": "ดร.",
                        "researcherName": "นพรัตน์ คัคคุริวาระ",
                        "academicPosition": "รองศาสตราจารย์",
                        "position": "ผู้ร่วมวิจัย",
                        "type": "Internal Researcher",
                        "workRatio": 40
                    }
                ],
                "category": "ยังไม่ได้เลือกประเภทโครงการวิจัย",
                "background": "จากแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 - 2579 (AEDP2015) ที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาพลังงานทดแทนให้เป็นพลังงานหลักของประเทศทดแทน การนำเข้าน้ำมันได้ในอนาคต ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศได้อย่างยั่งยืนนั้น มวลชีวภาพ (Biomass) เป็นหนึ่งในพลังงานทางเลือกที่ได้จากธรรมชาติ ทั้งจากพืชและสัตว์ ตัวอย่างมวลชีวภาพที่มีการนำมาใช้ประโยชน์ในประเทศไทย เช่น ชานอ้อย ฟางข้าว ซังข้าวโพด กะลาปาล์มน้ำมัน ตอซังสับปะรด เศษไม้ยางพารา และไม้กระถิน เป็นต้น ในภาคธุรกิจสวนป่านอกจากการใช้ประโยชน์จากเนื้อไม้ในส่วนของลำต้นแล้ว เศษเหลือจากการทำไม้ เช่น กิ่ง ก้าน ใบ และตอรากนั้นก็มีศักษภาพในการนำมาใช้ประโยชน์ด้านพลังงานทดแทนเช่นกัน โดยเฉพาะไม้ยางพารานั้นถือว่าเป็นแหล่งมวลชีวภาพขนาดใหญ่ที่มีพื้นที่ปลูกในประเทศไทยมากกว่า 22 ล้านไร่ มีการโค่นล้มเฉลี่ยปีละ 200,000 - 300,000 ไร่ การใช้ประโยชน์ไม้ยางพาราส่วนใหญ่คือ ลำต้นใช้ทำไม้วีเนียร์ ไม้แผ่น ไม้บาง และเผาถ่าน เป็นต้น ในส่วนของกิ่งก้าน และตอรากนั้นบางส่วนที่นำมาใช้ทำชิ้นไม้สับ (Wood chips) แต่ส่วนใหญ่จะถูกรวมกองและเผาในแปลง เพื่อเตรียมพื้นที่สำหรับการปลูกในรอบถัดไป (Rianthakool, 2014) หากคิดเทียบน้ำหนักของกิ่ง ก้าน ใบ และตอรากรวมกันจะคิดเป็น 28% ของน้ำหนักไม้ทั้งต้น (นพรัตน์ และคณะ 2559) หรือปริมาณตอรากไม้ยางพาราเฉลี่ยประมาณ 5 ตันต่อไร่ (สำนักวิจัย ค้นคว้าพลังงาน, ม.ป.ป.) และจากรายงานของสำนักวิจัย ค้นคว้าพลังงาน (ม.ป.ป.) พบว่ามวลชีวภาพของตอรากไม้ยางพารา ในพื้นที่ภาคใต้ 14 จังหวัด มีปริมาณรวมทั้งสิ้นประมาณ 943,130 ตัน มีการนำมวลชีวภาพของตอรากไม้ยางพารา ไปใช้ประโยชน์แล้วประมาณ ร้อยละ 36 เท่านั้น โดยมีหลายปัจจัยที่ทำให้การนำเศษเหลือจากการทำไม้ยางพาราออกมาใช้ประโยชน์น้อย เช่น \r\n1 การเก็บรวบรวมเศษเหลือและขนส่ง เนื่องจากเศษเหลือมีกระจัดกระจายอยู่ในแปลงยางพารา มีลักษณะกิ่งก้าน ตอรากที่จัดรวมกองได้ลำบาก ส่งผลให้บริหารจัดการยาก เสียค่าใช้จ่ายสูงในการเก็บรวบรวมและขนส่ง\r\n2 แหล่งรับซื้ออยู่ไกล การตั้งโรงงานไฟฟ้า หรือโรงงานที่ใช้พลังงานจากมวลชีวภาพ หรือแหล่งรับซื้อเศษเหลือยังมีไม่มากและไม่ครอบคลุม อาจจะไม่คุ้มถ้าต้องขนส่งเศษเหลือจากการทำไม้ไปยังโรงงานที่อยู่ไกล\r\nดังนั้นการพัฒนาปรับปรุงการเก็บเกี่ยวและขนส่งเศษเหลือจากการทำไม้ยางพารา ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น จะช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรสวนยางพารา และเพิ่มวัตถุดิบให้กับโรงงานมวลชีวภาพ เป็นการใช้ทรัพยากรไม้ยางพาราให้เกิดประโยชน์สูงสุด การศึกษานีี้จะใช้พื้นที่สวนยางพาราในจังหวัดระยอง และตรังซึ่งเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกยางพาราอยู่มากและมีความแตกต่างกันในหลายๆปัจจัย เช่น วิธีการทำไม้ แหล่งรับซื้อไม้ และรูปแบบการใช้ประโยชน์เนื้อไม้ยางพารา เป็นต้น ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับคือ เพิ่มศักษภาพในการใช้มวลชีวภาพจากไม้ยางพาราเพื่อให้เกิดความยั่งยืนทางด้านพลังงานด้วยเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวและขนส่งที่เหมาะสม\r\n",
                "objective": "\t1 เพื่อศึกษากระบวนการเก็บเกี่ยว และขนส่งมวลชีวภาพของไม้ยางพารา\r\n\t  2 เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการ และการศึกษาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการเก็บเกี่ยว และขนส่งมวลชีวภาพของไม้ยางพารา\r\n",
                "abstract": "การศึกษาเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวและขนส่งมวลชีวภาพของไม้ยางพารามีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษากระบวนการเก็บเกี่ยว และขนส่งมวลชีวภาพของไม้ยางพารา และ 2. เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการ และการศึกษาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการเก็บเกี่ยวและขนส่งมวลชีวภาพของไม้ยางพารา จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม สามารถจำแนกระบบการทำไม้ยางพาราได้ 6 ระบบ ที่ใช้เครื่องมือแตกต่างกันในแต่ละขั้นตอนตั้งแต่ล้มไม้ ลิดกิ่ง ตัดทอน รวมกอง และยกไม้ขึ้นรถบรรทุก ผลิตภาพในหน่วยตัน (น้ำหนักของไม้ยางพารา) ต่อชั่วโมงจะถูกแสดงและเปรียบเทียบ นอกจากนี้ในขั้นตอนการขุดตอรากได้รวบรวมข้อมูลการศึกษาเวลาในการทำงานด้วยเช่นกัน",
                "referenceUrl": "",
                "status": "Active"
            },
            "outputs": [
                {
                    "output": {
                        "forestUrl": "https://research.ku.ac.th/forest/Publish.aspx?PublishID=35766",
                        "outputID": "1-1-35766",
                        "referenceProjectID": "20196220159002",
                        "title": "การเปรียบเทียบการทอนไม้สองวิธีที่หมอนไม้ กรณีศึกษาไม้ยางพาราในพื้นที่จังหวัดชุมพร",
                        "source": "วารสารวนศาสตร์ไทย",
                        "class": "National",
                        "yearStart": "2022",
                        "monthStart": "07",
                        "yearEnd": "2022",
                        "monthEnd": "12",
                        "volume": "41",
                        "issue": "2",
                        "pageStart": "39",
                        "pageEnd": "47",
                        "issn": "27302180",
                        "type": "Journal",
                        "documentType": "Article",
                        "formulaTier": "TCI_G2",
                        "authors": [
                            {
                                "sequence": 1,
                                "fullName": "วัชรินทร์ สังข์สิงห์",
                                "departmentName": "คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ",
                                "image": "default.jpg",
                                "authorType": "External",
                                "isResponsible": false
                            },
                            {
                                "sequence": 2,
                                "researcherID": "520150",
                                "prefix": "ดร.",
                                "firstname": "ลัดดาวรรณ",
                                "lastname": "เหรียญตระกูล",
                                "academicPosition": "ผู้ช่วยศาสตราจารย์",
                                "fullName": "ลัดดาวรรณ เหรียญตระกูล",
                                "orgID": "010405",
                                "campusName": "บางเขน",
                                "facultyName": "คณะวนศาสตร์",
                                "departmentName": "ภาควิชาวิศวกรรมป่าไม้",
                                "image": "520150.jpg",
                                "imageUrl": "https://research.ku.ac.th/forest/ForestImages/Picture/Person/",
                                "authorType": "Internal",
                                "isResponsible": true
                            },
                            {
                                "sequence": 3,
                                "researcherID": "480926",
                                "prefix": "ดร.",
                                "firstname": "นพรัตน์",
                                "lastname": "คัคคุริวาระ",
                                "academicPosition": "รองศาสตราจารย์",
                                "fullName": "นพรัตน์ คัคคุริวาระ",
                                "orgID": "010405",
                                "campusName": "บางเขน",
                                "facultyName": "คณะวนศาสตร์",
                                "departmentName": "ภาควิชาวิศวกรรมป่าไม้",
                                "image": "480926.jpg",
                                "imageUrl": "https://research.ku.ac.th/forest/ForestImages/Picture/Person/",
                                "authorType": "Internal",
                                "isResponsible": false
                            }
                        ]
                    }
                }
            ]
        }
    ]
}