API Result

Server URL

https://research.ku.ac.th/kurdi-api/api/v1/

Endpoint URL
API URL

URL: https://research.ku.ac.th/kurdi-api/api/v1/projects/20196220159000

Result
{
    "totalResult": 1,
    "startPage": 1,
    "itemsPerPage": 1,
    "entry": [
        {
            "projectDetail": {
                "forestUrl": "https://research.ku.ac.th/forest/Project.aspx?ProjectNumber=6220159000&BudgetYear=2019",
                "projectID": "20196220159000",
                "projectName": "บูรณาการรูปแบบการตัดฟันไม้ยางพาราเพื่อมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ",
                "projectNameEn": "Integrated Rubberwood Harvesting with Value Chain Maximization",
                "source": {
                    "name": "เงินงบประมาณมหาวิทยาลัย",
                    "type": "Internal"
                },
                "budget": 1000000,
                "organization": {
                    "orgID": "010405",
                    "name": "ภาควิชาวิศวกรรมป่าไม้ คณะวนศาสตร์"
                },
                "type": "ชุดโครงการ",
                "budgetYear": "2019",
                "startYear": "2019",
                "endYear": "2021",
                "head": "ดร.นพรัตน์ คัคคุริวาระ, รองศาสตราจารย์",
                "team": [
                    {
                        "sequence": 1,
                        "researcherID": "480926",
                        "prefix": "ดร.",
                        "researcherName": "นพรัตน์ คัคคุริวาระ",
                        "academicPosition": "รองศาสตราจารย์",
                        "position": "หัวหน้าชุดโครงการ",
                        "type": "Internal Researcher",
                        "workRatio": 40
                    },
                    {
                        "sequence": 2,
                        "researcherID": "500226",
                        "prefix": "ดร.",
                        "researcherName": "ชาคริต ณ ตะกั่วทุ่ง",
                        "academicPosition": "ผู้ช่วยศาสตราจารย์",
                        "position": "หัวหน้าโครงการย่อย",
                        "type": "Internal Researcher",
                        "workRatio": 30
                    },
                    {
                        "sequence": 3,
                        "researcherID": "520150",
                        "prefix": "ดร.",
                        "researcherName": "ลัดดาวรรณ เหรียญตระกูล",
                        "academicPosition": "ผู้ช่วยศาสตราจารย์",
                        "position": "หัวหน้าโครงการย่อย",
                        "type": "Internal Researcher",
                        "workRatio": 30
                    }
                ],
                "category": "ยังไม่ได้เลือกประเภทโครงการวิจัย",
                "background": "ยางพารา เป็นไม้ที่ถูกนำมาแปรรูปมากที่สุดในช่วงที่ผ่านมา พื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย 6.36% ต่อปี กว่า 80% ของพื้นที่ปลูกไม้ยางพารานั้นอยู่ในภาคใต้ ผลผลิตหลักของยางพารา คือ น้ำยางและเมื่อต้นยางพารามีอายุประมาณ 25-30 ปีการผลิตน้ำยางจะหมดสภาพลง โดยยางพาราที่หมดสภาพเหล่านี้จะถูกโค่นเพื่อนำไม้ยางเข้าสู่กระบวนการแปรรูปเป็นเฟอร์นิเจอร์ต่อไป ปัจจุบันการตัดฟันต้นยางพารา ผู้รับเหมาจะเข้าไปรับซื้อต้นยางจากสวนต่างๆ ทำการประเมินปริมาตรด้วยสายตาและอาศัยประสบการณ์เป็นหลัก ไม่มีเครื่องมือใดๆในการช่วยประเมินปริมาตรไม้ดังกล่าว ทำให้บางครั้งการตีราคามีความคลาดเคลื่อน เมื่อตกลงราคากันได้แล้วผู้รับเหมาจะดำเนินการตัดฟันแบบตัดหมดทั้งแปลง หลังจากตัดโค่น ท่อนไม้ยางพาราจะถูกนำไปจาหน่ายยังโรงงานแปรรูปและโรงงานอุตสาหกรรมไม้ต่างๆ โดยเศษเหลือที่เหลือทิ้งไว้ในแปลงประกอบด้วย ส่วนของปลายยอด กิ่งก้าน ใบ ตอไม้และรากไม้ ซึ่งวัสดุเหลือทิ้งเหล่านี้เกษตรกรนิยมเผาทิ้งหรือในบางพื้นที่มีการใช้สารเคมีเพื่อกาจัดตอรากดังกล่าว\r\n\r\nการนำเอาเศษเหลือจากการทาไม้ไปใช้ประโยชน์ถือว่าคุ้มค่า โดยเฉพาะตอรากไม้ยางพาราสามารถนำไปใช้เป็นวัตถุดิบผลิตเชื้อเพลิงได้ สถิติจากสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทาสวนยาง (สกย.) พบว่ามีสวนยางพาราประมาณ 200,000-300,000 ไร่ต่อปีที่ต้องตัดฟัน แต่ละไร่จะมีตอยางพารา 75-80 ตอ คิดเป็นมูลค่าราว 23 ล้านบาท แต่ทว่าราคาของตอรากนั้นยังไม่สูงพอที่จะจูงใจให้เกษตรกรหรือผู้รับเหมาเก็บเกี่ยวและขนส่งไปขายยังโรงงาน เนื่องด้วยค่าใช้จ่ายในการดำเนินการที่ยังสูงอยู่ ส่งผลให้เกษตรกรหรือผู้รับเหมาไม่ได้ให้ความสนใจมากนัก\r\n\r\nด้วยเหตุผลดังกล่าว โจทย์วิจัยนี้ได้รับการผลักดันจากภาคเอกชนโดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมชีวมวล ในการศึกษาความเป็นไปได้ในการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยปรับปรุงกระบวนการเก็บเกี่ยว มุ่งเน้นการสร้างแรงจูงใจในการใช้ประโยชน์จากเศษเหลือให้ได้มากที่สุด ด้วยรูปแบบการเก็บเกี่ยวและการขนส่งที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งงานวิจัยนี้ยังมีวัตถุประสงค์ที่จะช่วยแก้ปัญหาในเรื่องของการประเมินปริมาณไม้ให้มีความถูกต้องแม่นยำและเป็นการสร้างความเป็นธรรมให้ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายอีกทางหนึ่งด้วย",
                "objective": "1) สร้างเครื่องมืออย่างง่ายที่ใช้ในการประเมินมวลชีวภาพของไม้ยางพารา\r\n2) พัฒนารูปแบบการเก็บเกี่ยวและการขนส่งไม้ยางพาราและเศษเหลือที่มีประสิทธิภาพ",
                "referenceUrl": "",
                "status": "Active"
            },
            "subProject": [
                {
                    "projectID": "20196220159001",
                    "projectName": "การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อประเมินมวลชีวภาพของไม้ยางพารา",
                    "projectNameEn": "Mobile Application Development on Biomass Estimation of Rubber Wood"
                },
                {
                    "projectID": "20196220159002",
                    "projectName": "เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวและขนส่งมวลชีวภาพของไม้ยางพารา",
                    "projectNameEn": "Rubberwood Biomass Harvesting and Transport Technology"
                }
            ]
        }
    ]
}