Search Result of "ไม้โกงกาง"

About 23 results
Img
Img
Img
Img
Img
Img

ที่มา:วารสารการจัดการป่าไม้

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : การเติบโตและผลผลิตซากพืชของไม้โกงกางใบใหญ่อายุ 7-10 ปี ที่ปลูกในพื้นที่นากุ้งร้าง อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี)

ผู้เขียน:Imgวิจารณ์ มีผล

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

ได้ทำการศึกษาการเติบโตและผลผลิตซากพืชของไม้โกงกางใบใหญ่ที่ปลูกในพื้นที่นากุ้งร้าง อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในแปลงปลูกไม้โกงกางใบใหญ่ อายุ 7-10 ปี ในพื้นที่ผ่านการทำนากุ้งแบบธรรมชาติ ระหว่างเดือน พฤศจิกายน 2550 - ตุลาคม 2551 โดยวางแปลงทดลองขนาด 10 x 10 ตารางเมตร จำนวน 9 แปลง ในแต่ละชั้นอายุ วัดการเติบโตทางความสูงและขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ปริมาณมวลชีวภาพ ผลผลิตซากพืช ปริมาณธาตุอาหารที่ได้จากผลผลิตซากพืช และการเก็บกักคาร์บอน ผลการศึกษาพบว่าการเติบโตทางขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของไม้โกงกางใบใหญ่อายุ 10 ปี สูงที่สุด (7.54 เซนติเมตร) รองลงมา อายุ 9 ปี (6.13 เซนติเมตร) อายุ 8 ปี (5.59 เซนติเมตร) และอายุ 7 ปี (4.88 เซนติเมตร) ตามลำดับ สำหรับการเติบโตทางความสูงพบว่าไม้โกงกางใบใหญ่ อายุ 10 ปี มีการเติบโตดีที่สุด (10.93 เมตร) รองลงมา อายุ 9 ปี (7.44 เมตร) อายุ 8 ปี (6.34 เมตร) และอายุ 7 ปี (6.31 เมตร) ตามลำดับ การเติบโตทางมวลชีวภาพพบว่ามวลชีวภาพรวมของไม้โกงกางใบใหญ่ อายุ 10 ปี มีค่าสูงสุด (41.60 ตันต่อไร่) รองลงมา อายุ 9 ปี (23.01 ตันต่อไร่) อายุ 8 ปี (15.21 ตันต่อไร่) และอายุ 7 ปี (12.82 ตันต่อไร่) ตามลำดับ ส่วนผลผลิตซากพืชปรากฏว่าไม้โกงกางใบใหญ่อายุ 10 ปี มีค่าสูงสุด (2.22 ตันต่อไร่) รองลงมาอายุ 9 ปี (1.77 ตันต่อไร่) อายุ 7 ปี (1.43 ตันต่อไร่) และอายุ 8 ปี (1.17 ตันต่อไร่) ตามลำดับ ปริมาณธาตุอาหารที่ได้จากผลผลิตซากพืชทุกชั้นอายุพบว่า แคลเซียมมีปริมาณสูงสุด รองลงมาเป็นโพแทสเซียม แมกนีเซียม ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส ตามลำดับ และปริมาณการเก็บกักคาร์บอนของไม้โกงกางใบใหญ่อายุ 10 ปี มีค่าสูงสุด (18.99 ตันต่อไร่) รองลงมา อายุ 9 ปี (10.61 ตันต่อไร่) อายุ 8 ปี (7.09 ตันต่อไร่) และอายุ 7 ปี (5.80 ตันต่อไร่) ตามลำดับ

Article Info
วารสารการจัดการป่าไม้, Volume 6, Issue 1, Jul 09 - Dec 09, Page 35 - 55 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:ประสิทธิภาพของกล้าไม้โกงกางใบใหญ่และแสมทะเลในการบำบัดบีโอดีในน้ำทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งเพื่อลดผลกระทบต่อผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้ง ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ

ผู้เขียน:Imgสิทธิชัย มณีรัตน์

ประธานกรรมการ:Imgดร.บงกชรัตน์ ปิติยนต์, รองศาสตราจารย์, Imgบงกชรัตน์ ปิติยนต์

กรรมการร่วม:Imgดร.นิพนธ์ ตั้งธรรม, ศาสตราจารย์

Img
Img
Img

Researcher

ดร. ทิพยรัตน์ ชาหอมชื่น, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาเทคนิคการสัตวแพทย์ คณะเทคนิคการสัตวแพทย์

สาขาที่สนใจ:Biochemistry, Protein purification

Resume

Img

Researcher

ดร. พงษ์ศักดิ์ เฮงนิรันดร์, อาจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาวนผลิตภัณฑ์ คณะวนศาสตร์

สาขาที่สนใจ:การแปรรูปพลังงานจากไม้, เคมีของเนื้อไม้, เทคโนโลยีเยื่อและกระดาษ, กระบวนการควบคุมการผลิต Process Control, การทำแบบจำลองทางคณิตศาสตร์

Resume

Img

Researcher

ดร. นรุณ วรามิตร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร กำแพงแสน

สาขาที่สนใจ:ระบบการผลิตพืชชีวมวลเพื่อพลังงานทดแทน , พืชอาหารสัตว์

Resume

Img

Researcher

ดร. ไตรรัตน์ เนียมสุวรรณ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาวนผลิตภัณฑ์ คณะวนศาสตร์

สาขาที่สนใจ:Wood Chemistry, Wood Composite , Chemical Modification of Wood Composites

Resume

Img

Researcher

ดร. วรพงศ์ สิงห์ชาติ

ที่ทำงาน:สำนักงานเลขานุการ คณะวิทยาศาสตร์

สาขาที่สนใจ:พันธุศาสตร์โมเลกุล, พันธุศาสตร์ระดับเซลล์, จีโนมสัตว์

Resume

Img

Researcher

ดร. รุ่งเรือง พูลศิริ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร์

สาขาที่สนใจ:ดินป่าไม้ Forest Soil , ธาตุอาหารพืชป่า, การปลูกสร้างสวนป่า, วนวัฒนวิทยา

Resume

Img

Researcher

ดร. เชษฐพงษ์ เมฆสัมพันธ์, ศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะประมง

สาขาที่สนใจ:ด้านการประเมินสถานภาพของสิ่งแวดล้อม, ด้านการเฝ้าระวังการเกิดปรากฏการณ์น้ำเปลี่ยนสี, ด้านความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชทะเล

Resume

Img

Researcher

ดร. อภิสิฏฐ์ ศงสะเสน, รองศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์

สาขาที่สนใจ:Coordination Chemistry, Applied Inorganic Chemistry, Environmental Chemistry

Resume

Img

Researcher

ดร. จุฑามาศ ร่มแก้ว, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร กำแพงแสน

สาขาที่สนใจ:การผลิตพืช, สรีรวิทยาเมล็ดพันธุ์ , วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษาพืชไร่ , เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์

Resume

Img

Researcher

ดร. ณรงค์ฤทธิ์ เมืองใหม่, รองศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาชีววิทยาประมง คณะประมง

สาขาที่สนใจ:Aquatic biodiversity, Phylogeography , Molecular phylogenetics and evolution, Phycology, Cryptic Diversity, Speciation, Population Genetic, Marine Genomics

Resume

Img

Researcher

ดร. วิทยา ปั้นสุวรรณ, รองศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์

สาขาที่สนใจ:เคมีไม้ , เซลลูโลส , เคมีของน้ำมันพืช, เครื่องมือวิเคราะห์ GC, HPLC, IR, NIR , พลังงานทดแทน (ไบโอดีเซล เอทานอล)

Resume

12