 |
 |
 หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Side Effect of three Herbicides on Soil Microorganism) ผู้เขียน: นางจินตนา ชะนะ, รองศาสตราจารย์ , Pranee Hamelink, ดร.จิระเดช แจ่มสว่าง, รองศาสตราจารย์ , ดร.สมศิริ แสงโชติ, รองศาสตราจารย์ , นายอุดม ฟ้ารุ่งสาง, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ , Ronnapop Bunjoechoedchu, Unnop Ongsakul สื่อสิ่งพิมพ์:pdf AbstractField experiment was carried out to study the side effect of 3 herbicides, namely; atrazine, ametryn and paraquat, on population dynamics of beneficial and non- target soil microorganism in sugarcane field at Central Laboratory and Greenhouse Complex, Kasetsart University, Kamphaeng-saen Campus. Soil samples were collected before and at 0, 7, 14, 30, 60 and 90 days after application of herbicides. The soil samples were air dried, sifted and divided into two parts. One was used for microorganism isolation on selective media, the rest was used for toxic residues analysis by gas chromate-graph. Forty isolates of bacteria and forty-six isolates of fungi were obtained. It was found that the total population of microorganisms decreased during the first week after application. Accordingly, the amount of residues detected in soil reached the maximum quantity (1774.08 ppb and 112.3 ppb of detected Atrazine and Ametryn, respectively) Half life of atrazine and ametryn in these soil samples were 35 and 6 days, respectively. The isolated soil microorganism that showed antagonistic effects to Fusarium moniliforme, the causal agent of root and foot rot of sugarcane also studied for residual toxicity under laboratory under laboratory condition. The result showed that atrazine and ametryn gave higher inhibitory effect on growth than paraquat. |
 หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Effects of Insecticide Dieldrin and Herbicide 2} 4-D on Soil Microorganism Activities ) ผู้เขียน: สุชาติ สุนทรพันธ์, นายนิรันดร์ สิงหบุตรา, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สื่อสิ่งพิมพ์:pdf Abstractยาฆ่าแมลง หรือ ยาฆ่าวัชพืชเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันนี้ เพื่อที่จะเพิ่มผลผลิตของพืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ ยานี้จะถูกชะล้างจากใบหรือลำต้นลงไปสะสมอยู่ในดิน การสะสมของยาดังกล่าวอาจมีผลกระทบกระเทือนต่อกิจกรรมของจุลินทรีย์ดิน ที่มีประโยชน์ในแง่ของความอุดมสมบูรณ์ของดิน ยาที่สะสมอยู่นี้มีทางที่จะสลายตัวสูญหายไปจากดินได้โดยปฏิกิริยาทั้งทางเคมีและทางชีววิทยาความคงทนของยาที่จะสะสมอยู่ในดินได้นาน มากน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับชนิดและปริมาณ ของจุลินทรีย์ที่มีความสามารถในการสลายตัวของยาชนิดนั้นๆ และผลการสลายตัวนี้จะเกิดผลดีและผลเสียต่อปริมาณและกิจกรรมของจุลินทรีย์ดิน |
 ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการA 'rare biosphere' microorganism contributes to sulfate reduction in a peatlandผู้แต่ง: Pester, M., Bittner, N., Dr.PINSURANG DEEVONG, Assistant Professor , Wagner, M., Loy, A., วารสาร:
|
 |
 |
 ที่มา:การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48หัวเรื่อง:การทดสอบวิธีประยุกต์ใช้น้ำหอมระเหยในการควบคุมเชื้อจุลินทรีย์ในดิน |
 ที่มา:การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 48 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาพืชหัวเรื่อง:การทดสอบวิธีการประยุกต์ใช้น้ำมันหอมระเหยในการควบคุมเชื้อจุลินทรีย์ในดิน |
 |
 |
 Researcherดร. กนกกร สินมา, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ที่ทำงาน:ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กำแพงแสน สาขาที่สนใจ:การจัดจำแนกเชื้อแอคติโนมัยสีทและนำไปใช้ประโยชน์, การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ , การปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์และการแสดงออก, ความหลากหลายของจุลินทรีย์ Resume |
 Researcherดร. รัติยา พงศ์พิสุทธา, รองศาสตราจารย์ที่ทำงาน:ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กำแพงแสน สาขาที่สนใจ:Fungal Taxonomy and Moiecular Biology, Diversity of Plant Pathogenic Fungi, Postharvest Eiseases Plant Pathogenic Fungi Resume |
 |
 |