งานวิจัยการศึกษาผลของพิษงูเขียวหางไหม้ต่อการทำลายเซลล์มะเร็งท่อน้ำดีตับในคน (2006)หัวหน้าโครงการ:ดร.อุไร พงศ์ชัยฤกษ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผู้ร่วมโครงการ:ดร.อภินันท์ สุประเสริฐ, ศาสตราจารย์, นางอภันตรี ด้วงเงิน, ดร.ศิริรักษ์ จันทครุ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, นายสุรพงษ์ อาทิตย์วงศ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, นางสาวผกาวดี พงษ์เกษ, นางกฤษณา แสงประไพทิพย์, ดร.ปารียา อุดมกุศลศรี, รองศาสตราจารย์ แหล่งทุน:ทุนอุดหนุนวิจัยมก. ผลลัพธ์:วารสาร (1) ประชุมวิชาการ (2) |
|
|
|
หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Morphological Changes of Apoptosis in the Human Cholangiocarcinoma Cell Line, HuCCA-1, Induced by Green Pit Viper Venom) ผู้เขียน:ดร.อุไร พงศ์ชัยฤกษ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, ดร.ศิริรักษ์ จันทครุ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, นางสาวผกาวดี พงษ์เกษ, นางกฤษณา แสงประไพทิพย์, Apantree Doungern สื่อสิ่งพิมพ์:pdf AbstractThe venom of the green pit viper (Trimeresurus purpureomaculatus) was used to study the effect on bile duct epithelial cancer cell damage, using the human cholangiocarcinoma cell line, HuCCA-1, as a model. After cell treatment by various concentrations of snake venom at different times, alteration of the cellular structure was observed, especially in the apoptosis of cells. Under a light microscope, many patterns of cellular changes were obvious following treatment with 40 ?g/ml snake venom for six h, while the structure of untreated cells was still unchanged. The number of altered cells was significantly higher than in the control (p<0.05). A transmission electron micrograph showed that venom-treated cells had the characteristic of apoptosis to varying degrees. The cells presented plasma membrane blebs, an increased number of cytoplasmic vacuoles, enlargement or deterioration of organelles, reduced nuclear size, irregular nuclear membrane and clumping of nuclear chromatin. Though snake venom in the Viperidae family causes hemorrhagic symptoms by the function of several components, including phospholipase A2, it was hypothesized that the venom of the green pit viper shared structural similarity with Lys49 phospholipase A2, which lacked a hemolytic activity, but showed an ability to induce cancer cell apoptosis. |
ที่มา:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์หัวเรื่อง:การศึกษาผลของพิษงูเขียวหางไหม้ต่อการทำลายเซลล์มะเร็งท่อน้ำดีตับในคน |
ที่มา:การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47หัวเรื่อง:ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเซลล์มะเร็งท่อน้ำดีตับ HuCCA-1 ที่เกิด Apoptosis จากการเหนี่ยวนำโดยพิษงูเขียวหางไหม้ |
ที่มา:การประชุมวิชาการสัตวแพทยศาสตร์ มทม.ครั้งที่ 2หัวเรื่อง:การเปลี่ยนแปลงของเซลล์มะเร็งท่อน้ำดีตับภายหลังได้รับพิษงูเขียวหางไหม้ ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเลกตรอน |
|
|
|
|
|