|
|
ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการNatural tree regeneration after selective cutting in a dry evergreen forest in Northeastern Thailandผู้แต่ง:Dr.Dokrak Marod, Professor, Dr.Sarawood Sungkaew, Associate Professor, Mr.Sathid Thinkampheang, Dr.Chongrak Wacharinrat, Lecturer, SUTHERA HERMHUK, Jakkaphong Thongsawi, Wongsatorn Phumphuang, Arerut Yarnvudhi, CHATPIMUK YATAR, SOMBOON CHEYSAWAT, CHATCHAI SAWASMONGKOL, วารสาร: |
|
ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการUnderstanding growth strategies from functional and photosynthetic traits of tree seedlings in southeast Asian seasonally dry evergreen forestผู้แต่ง:Dr.Nantachai Pongpattananurak, Associate Professor, Kanisorn Chowtiwuttakorn, Dr.Nisa Leksungnoen, Associate Professor, Dr.Sangsan Phumsathan, Associate Professor, Weerasin Sonjaroon, PHANUMARD LADPALA, Kanin Rungwattana, Nopparat Anantaprayoon, Dr.Ekaphan Kraichak, Associate Professor, วารสาร: |
|
ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการForest dynamics and tree distribution patterns in dry evergreen forest, northeastern, Thailandผู้แต่ง:Phumphuang, W., Dr.Dokrak Marod, Professor, Dr.Sarawood Sungkaew, Associate Professor, Thinkampaeng, S., วารสาร: |
ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการEnvironmental factors differentially influence species distributions across tree size classes in a dry evergreen forest in Sakaerat Biosphere Reserve, northeastern Thailandผู้แต่ง:Wongsatorn Phumphuang, Dr.Sarawood Sungkaew, Associate Professor, Dr.Chongrak Wacharinrat, Lecturer, Mr.Sathid Thinkampheang, Sutheera Hermhuk, Jakkaphong Thongsawi , Surachit Waengsothorn, Luxiang Lin, Dr.Dokrak Marod, Professor, วารสาร: |
|
|
|
|
|
งานวิจัยโครงสร้างของสังคมพืช ความหลากหลาย และศักยภาพในการเก็บกักคาร์บอนของป่าดิบแล้งภายหลังการทำสัมปทานป่าไม้ 45 ปี บริเวณสถานีวิจัยและฝึกอบรมวนเกษตรตราด (2022)หัวหน้าโครงการ:นายอนุชา ทะรา ผู้ร่วมโครงการ:นายณัฐวัฒน์ คลังทรัพย์, ดร.ดอกรัก มารอด, ศาสตราจารย์, นายธีระพงษ์ ชุมแสงศรี, อาจารย์, ดร.สาพิศ ดิลกสัมพันธ์, รองศาสตราจารย์, ดร.เจษฎา วงค์พรหม, ดร.นรินธร จำวงษ์, นายวสันต์ จันทร์แดง, นางสาวละอองดาว เถาว์พิมาย, นางสาวปัทมา แสงวิศิษฎ์ภิรมย์ แหล่งทุน:ทุนอุดหนุนวิจัยมก. |
|
|
|
หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Comparison of Quadrat Sizes for Tree Denstiy Estimation in dry Evergreen Forest ) ผู้เขียน:Sondak Sukwong, นายสุวิทย์ แสงทองพราว, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สื่อสิ่งพิมพ์:pdf Abstractการใช้วิธีสุ่มตัวอย่างเพื่อประมาณความหนาแน่นของพรรณไม้ในป่าโซนร้อนนั้นมีปัญหาหลายอย่าง ทั้งนี้เพราะป่าโซนร้อนประกอบด้วยพรรณไม้หลายชนิดและถึงแม้จะมีมากชนิดก็จริงแต่จำนวนต้นต่อชนิดมักมีน้อย นอกจากนี้แล้วพรรณไม้ชนิดที่สำคัญ ก็มักไม่ขึ้นอยู่อย่างสม่ำเสมอทั่วเนื้อที่ แต่ขึ้นอยู่เป็นกลุ่มหรือเป็นหย่อมๆ ด้วยเหตุนี้เองการใช้วิธีสุ่มตัวอย่างจึงเป็นเรื่องยุ่งยาก แปลงตัวอย่างหรือที่เรียกกันว่าแปลงควอแดรท (quadrat) ควรจะมีขนาดเท่าไร จึงจะมีประสิทธิภาพมากที่สุดในสถานการณ์เช่นนี้เป็นปัญหาที่สำคัญที่จะมองข้ามเสียมิได้ ขนาดและรูปร่างของแปลงตัวอย่างที่ควรใช้นั้นย่อมขึ้นอยู่กับความมากน้อยของการจับกลุ่มของพรรณพืช |
หัวเรื่อง:ความผันแปรตามฤดูกาลของดัชนีพื้นที่เรือนยอด และอัตราการสังเคราะห์แสงของพรรณไม้เด่นในป่าดิบแล้งจังหวัดนครราชสีมา และป่าเบญจพรรณจังหวัดกาญจนบุรี ผู้เขียน:ดุริยะ สถาพร ประธานกรรมการ:ลดาวัลย์ พวงจิตร กรรมการวิชารอง:สมคิด สิริพัฒนดิลก สื่อสิ่งพิมพ์:pdf
Abstract
|
หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Radiant Energy of Dry Evergreen Forest at Sakaerat Experiment Station Amphur Pakthongchai Nakornrajasimi ) ผู้เขียน:ดร.เกษม จันทร์แก้ว, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ, สามัคคี บุญยะวัฒน์ สื่อสิ่งพิมพ์:pdf Abstract พลังงานความร้อนมีความสำคัญต่อสิ่งที่มีชีวิตทั้งมนุษย์ สัตว์ และพืช ความร้อนนี้สิ่งที่มีชีวิตมีความต้องการในปริมาณแตกต่างกัน อาจจะเป็นเพราะว่าสิ่งที่มีชีวิตเหล่านั้นพยายามที่จะปรับตัวให้เข้าได้กับความร้อน ณ ที่นั้น ๆ ก็ได้ เพราะความร้อนในแต่ละแห่งจะมีปริมาณไม่เท่ากัน ดังนั้นจึงมักพบว่าสิ่งที่มีชีวิตแต่ละแห่งบนพื้นโลกมีลักษณะความหนาแน่นแตกต่างกันไปด้วย ความร้อนที่สำคัญที่โลกได้รับนั้น คือ ความร้อนจากดวงอาทิตย์ ความร้อนของดวงอาทิตย์เหล่านี้จะได้มาจากขบวนการแผ่รังสี อันเป็นขบวนการเคลื่อนที่ของความร้อนโดยการแผ่ออกไป ไม่มีตัวกลางหรือสารเป็นตัวนำความร้อนเลย เป็นการเคลื่อนที่ของความร้อนที่มีลักษณะเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยความเร็วเท่ากับอัตราความเร็วของแสง งานทางเกษตรกรรม และทางป่าไม้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องของพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์อย่างมาก เพราะพลังงานเหล่านี้มีบทบาทต่อสิ่งแวดล้อมที่จะให้ต่อการเจริญของต้นไม้ หรือพืชกสิกรรม เท่าที่ปรากฏให้เห็นแล้ว ชนิดพรรณไม้หรือพืชกสิกรรมจะมีความชอบในปริมาณและคุณภาพ ของรังสีดวงอาทิตย์ต่างกัน ดังจะพบว่า พื้นที่สองแห่งมีสิ่งแวดล้อมของท้องที่เหมือนกัน แต่มีปริมาณและคุณภาพของรังสีความร้อนแตกต่างกัน จึงทำให้มีพืชที่เกิดอยู่แตกต่างกันไปอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้น การศึกษาเกี่ยวกับปริมาณ และลักษณะของรังสีดวงอาทิตย์ จึงเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการปลูกป่าและขยายพันธุ์พืชเป็นอย่างยิ่ง |