Journal

ผลกระทบจากความเค็มของน้ำต่อการเจริญเติบโตและการสังเคราะห์ด้วยแสงของแวนด้า ‘ใจรักพิ้งค์’
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร (ISSN: 01250369)
47
2
197-200
พฤษภาคม - สิงหาคม 2016
ชาติ
-
-
-
-

Author

Output From Project

ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อผลผลิตและการจัดการกล้วยไม้สกุลหวายและสกุลแวนด้าเพื่อการค้า: กรณีศึกษาผลกระทบจากความเค็มของน้ำ

Outcome

  • เชิงวิชาการ :- ใช้ในการบรรยาย/ฝึกอบรม ชื่อหน่วยงาน :สำนักงานเกษตรอำเภอกระทุ่มแบน อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร ชื่อการบรรยาย/ฝึกอบรม :ความเค็มของน้ำ กับการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ และพืชสวนอื่น ในงานวันถ่ายทอดความรู้ (Field day) ณ ศูนย์เรียนรู้การผลิตกล้วยไม้คุณภาพ GAP อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร,19 พ.ค. 2016 - 19 พ.ค. 2016
  • เชิงวิชาการ :- ใช้ในการบรรยาย/ฝึกอบรม ชื่อหน่วยงาน :กรมส่งเสริมการเกษตร ชื่อการบรรยาย/ฝึกอบรม :ผลการวิจัยเพื่อศึกษาผลกระทบของน้ำเค็มต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ ณ คุ้มพญาซอ รีสอร์ท อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม,17 ก.พ. 2016 - 17 ก.พ. 2016
  • เชิงวิชาการ :- ใช้ในการบรรยาย/ฝึกอบรม ชื่อหน่วยงาน :ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จ.สมุทรสาคร ชื่อการบรรยาย/ฝึกอบรม :ผลการวิจัยเพื่อศึกษาผลกระทบของน้ำเค็มต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ และลักษณะการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ ณ ห้องประชุมศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดสมุทรสาคร,4 มี.ค. 2016 - 4 มี.ค. 2016
  • เชิงสาธารณะ :- รายละเอียดการนำไปใช้ประโยชน์ ชื่อหน่วยงาน :กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรววงเกษตรและสหกรณ์ การใช้ประโยชน์ :ผู้วิจัยได้เผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ที่ได้รับจากงานวิจัยให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ ทำให้เกษตรกรได้รับความรู้ ความเข้าใจ และนำไปใช้ทั้งในเรื่องเกี่ยวกับค่ามาตรฐานการนำไฟฟ้า (Electrical Conductivity; EC) น้อยกว่าหรือเท่า 750 uS/cm เมื่อน้ำมีค่า EC สูงกว่า 750 uS/cm ทำให้เกษตรกรไม่กล้านำน้ำเค็มมาใช้รดกล้วยไม้ หรือซื้อน้ำจืดมาใช้รดกล้วยไม้ ทำให้เพิ่มต้นทุนการผลิต และแนะนำให้เกษตรกรซื้อเครื่องวัดค่า EC ไว้ตรวจวัดคุณภาพน้ำที่ใช้สำหรับรดกล้วยไม้ เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับเกษตรกร,4 มี.ค. 2016 - 4 มี.ค. 2016
  • เชิงพาณิชย์ :- รายละเอียดการนำไปใช้ประโยชน์ ชื่อหน่วยงาน :กลุ่มกล้วยไม้แปลงใหญ่ ท่าเสา, คลัสเตอร์กล้วยไม้, บริษัทส่งออก (เช่น บริษัท กล้วยไม้ไทย จำกัด) การใช้ประโยชน์ :ได้นำองค์ความรู้ไปใช้ในการรับมือกับปัญหาน้ำเค็มที่เกิดขึ้นในทุกปี ดังจะเห็นได้จาก ในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2560 ถึง มีนาคม 2561 เกษตรกรสามารถใช้ค่า EC จากผลงานวิจัยมาประกอบการตัดสินใจในการให้น้ำกล้วยไม้ ซึ่งช่วยลดความเสียหายจากการปล่อยให้กล้วยไม้ตายจากการไม่รดน้ำ หรือเสียหายจากการใช้น้ำเค็มรด รวมทั้งเป็นการลดต้นทุนในกรณีที่ซื้อน้ำจืดมาเจือจางกับน้ำเค็มก่อนที่จะใช้รดกล้วยไม้ โดยจะแตกต่างจากช่วงแล้งในปี 2557-2558 ที่เกษตรกรได้รับผลกระทบจากน้ำเค็มอย่างรุนแรงดังปรากฏในสื่อต่างๆ,1 ม.ค. 2018 - 30 ก.ค. 2019