Person Image

    Education

    • Ph.D. (Inorganic Chemistry), The Ohio State University, United States of America, 2555
    • M.S. (Chemistry), The Ohio State University, United States of America, 2552
    • วท.ม. (เคมี), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ไทย, 2550
    • วท.บ. (เคมี), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ไทย, 2546

    โครงการวิจัย 5 ปีที่ผ่านมา

    หน้าที่ในโครงการ 5 ปีที่ผ่านมา

    Internal Active Project

    Year Project Title Role Source Output
    Journal Conference Intellectual Property Invention and Plant
    Total 9 Project 1 4 0 0
    2025 หน่วยบ่มเพาะการวิจัยเฉพาะทางด้านนวัตกรรมกักเก็บพลังงาน: เปลี่ยนของเสียเป็นขั้วไฟฟ้าประสิทธิภาพสูง หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2024 การพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอร์โรฟสไกป์/สีย้อมไวแสงที่มีการส่องผ่านของแสงอินฟราเรดและมีประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยาสูง โดยใช้โลหะผสมของแพลทินัม/นิกเกิล บนท่อนาโนคาร์บอนแบบผนังหลายชั้นเป็นขั้วเคาน์เตอร์อิเล็กโทรดและใช้แทนทาลัม/ไทเทเนียมที่ถูกเจือในอินเดียมออกไซด์บนแผ่นกราฟีนเป็นขั้วไฟฟ้าโปร่งใส หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 1 0 0
    2023 การพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอร์โรฟสไกป์/สีย้อมไวแสงที่มีการส่องผ่านของแสงอินฟราเรดและมีประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยาสูง โดยใช้โลหะผสมของแพลทินัม/นิกเกิล บนท่อนาโนคาร์บอนแบบผนังหลายชั้นเป็นขั้วเคาน์เตอร์อิเล็กโทรดและใช้แทนทาลัม/ไทเทเนียมที่ถูกเจือในอินเดียมออกไซด์บนแผ่นกราฟีนเป็นขั้วไฟฟ้าโปร่งใส หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2022 การพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอร์โรฟสไกป์/สีย้อมไวแสงที่มีการส่องผ่านของแสงอินฟราเรดและมีประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยาสูง โดยใช้โลหะผสมของแพลทินัม/นิกเกิล บนท่อนาโนคาร์บอนแบบผนังหลายชั้นเป็นขั้วเคาน์เตอร์อิเล็กโทรดและใช้แทนทาลัม/ไทเทเนียมที่ถูกเจือในอินเดียมออกไซด์บนแผ่นกราฟีนเป็นขั้วไฟฟ้าโปร่งใส (ทุนพัฒนานักวิจัยรุ่นกลาง เริ่มปี 2565) หัวหน้าโครงการ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 0 0 0 0
    2022 การพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอร์โรฟสไกป์/สีย้อมไวแสงที่มีการส่องผ่านของแสงอินฟราเรดและมีประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยาสูง โดยใช้โลหะผสมของแพลทินัม/นิกเกิล บนท่อนาโนคาร์บอนแบบผนังหลายชั้นเป็นขั้วเคาน์เตอร์อิเล็กโทรดและใช้แทนทาลัม/ไทเทเนียมที่ถูกเจือในอินเดียมออกไซด์บนแผ่นกราฟีนเป็นขั้วไฟฟ้าโปร่งใส หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 1 0 0
    2019 ลิ้นอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะแบบพกพา: นวัตกรรมทางด้านอาหารในแนวทางเวชศาสตร์การป้องกันเพื่อสุขภาพที่ดีของผู้บริโภคและเพื่อคงอัตลักษณ์รสชาติอาหาร ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 1 1 0 0
    2019 การสร้างเซลล์ไฟฟ้าเคมีเพื่อตรวจวัดความเผ็ดด้วยการปรุงแต่งพื้นผิวกราฟีนด้วยโลหะสำหรับอุปกรณ์ด้านสุขภาพและอาหาร ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2014 การสังเคราะห์วัสดุคาร์บอนที่มีรูพรุนในระดับนาโนที่ถูกเจือด้วยธาตุไนโตรเจนและออกซิเจนเป็นตัวรองรับโลหะเหล็กหรือโคบอล์ตเพื่อประยุกต์ใช้เป็นขั้วเคาน์เตอร์อิเล็กโทรดในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดย้อมสีไวแสง หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2014 ช้อนอัจฉริยะ ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 1 0 0

    External Active Project

    Year Project Title Role Source Output
    Journal Conference Intellectual Property Invention and Plant
    Total 0 Project 0 0 0 0

    Internal Closed Project

    Year Project Title Role Source Output
    Journal Conference Intellectual Property Invention and Plant
    Total 16 Project 6 14 0 0
    2024 การใช้ประโยชน์จากทะลายปาล์มซึ่งเป็นของเหลือทิ้งทางเกษตรกรรมให้เป็นนวัตกรรมวัสดุตัวเก็บประจุยิ่งยวดที่ใช้วัสดุคาร์บอนที่มีรูพรุนอย่างมีลำดับขั้นจากที่ถูกเจือด้วยธาตุไนโตรเจนและฟอสฟอรัสเป็นขั้วไฟฟ้าที่มีมูลค่าสูง หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 1 0 0
    2024 การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะเพื่อใช้เป็นขั้วไฟฟ้าต้นทุนต่ำสำหรับเซลล์เชื้อเพลิงกรดฟอร์มิกจากขยะทางการเกษตร ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2024 นวัตกรรมการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนจากวัสดุเหลือทิ้งจากภาคเกษตรกรรมในรูปถ่านชีวภาพด้านเทคโนโลยีการแปรรูปและกักเก็บพลังงาน หัวหน้าโครงการย่อย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 1 0 0
    2022 การพัฒนาชุดตรวจสอบสารฆ่าแมลงอย่างง่าย โดยนำวัสดุคอมโพสิตระหว่าง CuInS2 ที่มีสัณฐานวิทยาเป็นรูปทรงกลมคล้ายฟองน้ำที่มีขนาดไมครอนและกราฟีนเป็นองค์ประกอบมาทำเป็นขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีนแบบช่องรับสัญญาณคู่ เพื่อประเมินความเสี่ยงของสารตกค้างและอันตรายปนเปื้อนในผักและผลไม้ หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2022 การพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสงที่มีประสิทธิภาพสูงโดยใช้วัสดุคอมโพสิตระหว่าง MoS2 และวัสดุคาร์บอนที่มีรูพรุนที่ถูกเจือด้วยธาตุไนโตรเจนเป็นขั้วเคาน์เตอร์อิเล็กโทรดที่สังเคราะห์ได้จากกากอ้อยที่เป็นของเสียทางเกษตรกรรม หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2022 นวัตกรรมทางเทคโนโลยีในการเพิ่มมูลค่าสำหรับการใช้ประโยชน์ของเสียชีวมวลทางการเกษตร อย่างยั่งยืนโดยการประกอบอุปกรณ์การผลิตและกักเก็บกระแสไฟฟ้าแบบผสมผสานระหว่างเซลล์แสงอาทิตย์และแบตเตอรี่ที่ใช้วัสดุคาร์บอนที่มีรูพรุนที่สังเคราะห์จากกากอ้อยเป็นขั้วไฟฟ้า หัวหน้าโครงการ
    ผู้ร่วมวิจัย
    ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2022 นวัตกรรมชุดทดสอบอาหาร เพื่อสร้างหลักประกันคุณภาพอาหารให้มีรูปแบบการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน หัวหน้าโครงการย่อย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2021 การรีไซเคิลขยะถ่านไฟฉายใช้แล้วสู่นวัตกรรมแบตเตอรี่เทียมไอออน ผู้ร่วมวิจัย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 0 3 0 0
    2020 การเพิ่มประสิทธิภาพแบตเตอรี่ลิเที่ยมไอรอนฟอสเฟตต้นแบบเพื่อนำไปสู่การผลิตรถเข็นนั่งไฟฟ้าได้เชิงพาณิชย์ หัวหน้าโครงการ หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข) 1 0 0 0
    2020 การสร้างเซลล์ไฟฟ้าเคมีเพื่อตรวจวัดความเผ็ดด้วยการปรุงแต่งพื้นผิวกราฟีนด้วยโลหะสำหรับอุปกรณ์ด้านสุขภาพและอาหาร ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2019 การประกอบแผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสงที่ยือหยุ่นได้ต้นทุนต่ำโดยใช้วัสดุคอมโพสิตระหว่างพอลิไพรโรลและวัสดุคาร์บอนที่แกนกลางเป็นท่อนาโนคาร์บอนที่มีผนังหลายชั่นและมีแผ่นกราฟีนที่มีโครงสร้างเป็นริบบอนล้อมรอบเป็นขั้วเคาน์เตอร์อิเล็กโทรด หัวหน้าโครงการ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ(องค์การมหาชน) 0 1 0 0
    2019 การลดภาวะโลกร้อนโดยนำแผงเซลล์แสงอาทิตย์เชื่อมต่อกับแผงเซลล์เชื้อเพลิงในระบบการผลิตกระแสไฟฟ้าแบบผสมผสาน หัวหน้าโครงการ สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) 0 0 0 0
    2016 พัฒนาขั้วเคาน์เตอร์อิเล็กโทรดที่ปราศจากโลหะในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดย้อมสีไวแสงโดยใช้วัสดุราคาถูกของทังสเตนไดออกไซด์ที่ฝังตัวในรูพรุนระดับนาโนของคาร์บอนที่มีโครงสร้างเป็นโพรงตามลำดับชั้นซึ่งถูกเจือด้วยไนโตรเจน หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 1 2 0 0
    2015 การสังเคราะห์วัสดุคาร์บอนที่มีรูพรุนในระดับนาโนที่ถูกเจือด้วยธาตุไนโตรเจนและออกซิเจนเป็นตัวรองรับโลหะเหล็กหรือโคบอล์ตเพื่อประยุกต์ใช้เป็นขั้วเคาน์เตอร์อิเล็กโทรดในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดย้อมสีไวแสง หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 0 0 0 0
    2015 ช้อนอัจฉริยะ ผู้ร่วมวิจัย ทุนอุดหนุนวิจัย มก. 4 6 0 0
    2013 การสังเคราะห์วัสดุคาร์บอนที่มีรูพรุนในระดับนาโนที่ถูกเจือด้วยธาตุไนโตรเจนและออกซิเจนเพื่อเป็นตัวรองรับโลหะเหล็กและโคบอล์ตเพื่อประยุกต์ใช้เป็นขั้วเคาน์เตอร์อิเล็กโทรดในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดย้อมสีไวแสง หัวหน้าโครงการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0 0 0 0

    External Closed Project

    Year Project Title Role Source Output
    Journal Conference Intellectual Property Invention and Plant
    Total 5 Project 4 3 0 0
    2021 การประกอบแบตเตอรี่โซเดียมไอออนที่มีประสิทธิภาพสูงโดยใช้วัสดุนาโนคอมโพสิตของ CoSx/วัสดุคาร์บอนที่มีรูพรุนในระดับนาโนที่ถูกเจือด้วยธาตุไนโตรเจนเป็นขั้วแอโนด หัวหน้าโครงการ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (สทป.) 1 0 0 0
    2019 การผลิตตัวเก็บประจุยิ่งยวดจากลำต้นปาล์มน้ำมันที่เป็นของเสียชีวมวลทางเกษตรกรรม หัวหน้าโครงการ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) 0 1 0 0
    2018 การพัฒนาขั้วเคาน์เตอร์อิเล็กโทรดที่มีประสิทธิภาพสำหรับเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดย้อมสีไวแสงโดยการเจือกราฟีนในระดับโมเลกุลและศึกษาความเป็นไปได้ในการประกอบแผงเซลล์แสงอาทิตย์ หัวหน้าโครงการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 1 1 0 0
    2018 การพัฒนาตัวรับรู้เชิงเคมีไฟฟ้าและชีวภาพของเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสที่มีวัสดุคอมโพสิตระหว่าง CuInS2 ที่มีสัณฐานวิทยาเป็นรูปทรงกลมคล้ายฟองน้ำที่มีขนาดไมครอนและกราฟีนเป็นองค์ประกอบสำหรับตรวจสอบสารฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต หัวหน้าโครงการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 1 1 0 0
    2014 การสังเคราะห์วัสดุคาร์บอนที่มีรูพรุนในระดับนาโนที่ถูกเจือด้วยธาตุไนโตรเจนและออกซิเจนเพื่อเป็นตัวรองรับโลหะเหล็กหรื่อโคบอล์ตเพื่อประยุกต์ใช้เป็นขั้วเคาน์เตอร์อิเล็กโทรดในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดย้อมสีไวแสง หัวหน้าโครงการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 1 0 0 0